บริการแปลทั่วโลกเรามีบริการแปลและรับรองเอกสารมากกว่า 196 ภาษา โดยผู้เชียวชาญเจ้าของภาษา
|
แปลโดยเจ้าของภาษาการแปลโดยเจ้าของภาษาจะทำให้ได้งานที่มีภาษาที่สวยงาม เข้าใจได้ง่าย และความหมายถูกต้อง
|
สามารถเข้าถึงได้ง่ายไม่ว่าคุณจะอยู่ที่ไหนในโลก ก็สามารถใช้บริการได้ ผ่านช่องทาง Email, Line Chat Application, Whatsapp และช่องทาง อื่น ๆ
|
บริการของเรา
แปลภาษา
บริการแปลเอกสารมากกว่า 196 ภาษา โดยทีมนักแปลเจ้าของภาษา
|
แปลโดยเจ้าของภาษา
แปลโดยเจ้าของภาษา ที่มีความถนัดในงานที่ได้รับมอบหมาย เพื่อให้ได้ภาษาที่ถูกต้อง เข้าใจง่าย และนำไปใช้ได้จริง
|
แปลงานเฉพาะทาง
เรามีนักแปลผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง ไม่ว่าจะเป็นงานแพทย์ศาสตร์ งานวิศกรรรม งานบัญชี งานราชการ และบทความทุกประเภท
|
แปลเวปไซต์
บริการแปล Website ตามความต้องการทุกภาษาที่ลูกค้าต้องการ เพื่อถ่ายทอดข้อความได้อย่างเหมาะสม ในภาษาที่ถูกต้อง เข้าใจง่าย
|
แปลงานการเงิน
บริการแปลเอกสารทางการเงินเป็นภาษาต่างๆ ทุกภาษาทั่วโลก
|
แปลงานทางการแพทย์
บริการแปลเอกสารทางการแพทย์หลายประเภท เช่น ใบสั่งยา โบรชัวร์ทางการแพทย์ ฉลากยา คำอธิบายแนะนำวิธีการใช้ยา
|
แปลเอกสารราชการ
บริการแปลเอกสารราชการเพื่อนำไปใช้ยื่นขอรับรองที่กรมการกงสุล สถานทูต หรือนำไปใช้ยื่นหน่วยงานราชการที่ต่างประเทศ
|
แปลเอกสารทางการศึกษา
บริการแปลเอกสารทางการศึกษา แปลใบแสดงผลการเรียน แปลใบ Transcript แปลบประกาศนียบัตร
|
Notary Public
บริการรับรองเอกสารโดยทนาย Notary Public ไม่ว่าจะเป็นการรับรองคำแปล รับรองลายมือชื่อ รับรองสำเนาเอกสาร รับรองสถานะทางการเงิน
|
NAATI
บริการแปลและรับรองเอกสารโดยนักแปลขึ้นทะเบียน NAATI (National Accreditation Authority for Translators and Interpreters Ltd. ) เพื่อนำเอกสารไปใช้ที่ประเทศออสเตรเลีย
|
Justice of the peace (JP)
บริการรับรองเอกสารโดย JP (Justic Of The Peach) เป็นการรับรองโดยผู้มีคุณวุฒิ เพื่อนำเอกสารไปใช้ที่ประเทศออสเตรเลีย
|
บริการแปลพร้อมรับรองโดยนักแปลขึ้นทะเบียนกระทรวงยุติธรรม
เรามีบริการแปลและรับรองเอกสารโดยผู้เชี่ยวชาญขึ้นทะเบียนกระทรวงยุติธรรม เพื่อนำเอกสารใช้ประกวดราคากับภาครัฐ หรือใช้ในหน่วยงานราชการไทย ตามเงื่อนไขการประกวดราคาของภาครัฐกำหนด
|
บริการแปลเอกสาร 196 ภาษาทั่วโลก
สถาบันภาษา และ รับรองเอกสาร i.T.S. (i Translation Services) รับแปลเอกสารแบบ Online ทุกภาษาทั่วโลก มากกว่า 196 ภาษา บริการแปลเอกสารพร้อมรับรองโดยสถาบันแปลภาษาที่มีชื่อเสียง และจดทะเบียนถูกต้องตามกฎหมายประเทศไทย และเรายังมีบริการแปลเอกสารพร้อมรับรองเอกสารตามความต้องการของลูกค้า อาธิ เช่น แปลและรับรองเอกสารโดยนักแปลสถานทูต, แปลและรับรองเอกสารโดยนักแปล NAATI เพื่อนำเอกสารไปใช้ที่ประเทศออสเตรเลีย, บริการแปลและรับรองโดยกระทรวงต่างประเทศ หรือกงสุล, แปลเอกสารพร้อมรับรองคำแปลโดยทนาย Notary Public และบริการอื่น ๆ เกี่ยวกับภาษาแบบครบวงจร
สถาบันแปลภาษา และ รับรองเอกสาร i.T.S. (i Translation Services) แหล่งรวมนักแปลเอกสาร มืออาชีพและเป็นเจ้าของภาษา เปี่ยมประสบการณ์ จากหลายสาขาอาชีพ เราคือผู้ให้บริการแปลเอกสารตัวจริง เสียงจริง พิสูจน์ความแตกต่างวันนี้ สถาบันการแปลภาษาของเรา รับแปลเอกสาร และ รับรองเอกสารสำคัญ ทุกประเภท ทุกภาษา บริการ รับแปลเอกสาร ของศูนย์การแปล i.T.S. (i Translation Services) ครอบคลุม บริษัท องค์กรขนาดใหญ่ เล็ก บุคคลธรรมดา และนักเรียน นักศึกษา แปลเอกสารราชการ ทั้งภายในและภายนอกประเทศ เรามีศูนย์บริการมากถึง 22 สาขาทั่วประเทศไทย ลูกค้าสามารถเลือกใช้บริการในจังหวัดที่ลูกค้าอยู่ หรือหากไม่มีสาขาในจังหวัดที่ลูกค้าพำนักอยู่สามารถส่งงานแปลกับทางสำนักงานใหญ่แบบ Online ได้ทั้งทางช่องทาง Website, Email, Line Chat Application, WhatsApp ตามความสะดวกของลูกค้า เราทำงานแปลเป็นอาชีพ มีการจดทะเบียนถูกต้องตามกฎหมาย และมีบริษัทในเครืออย่างเช่น NYC Translation Co., Ltd. , NYC Visa Service Co., Ltd. , NYC Language Institute (สถาบันภาษาเอ็นวายซี) , NYC School , NYC Education , ทำให้เรามีความเชี่ยวชาญในงานเอกสารหลากหลายรูปแบบ และมีความแม่นยำในการให้คำปรึกษา สามารถแนะนำลูกค้าได้อย่างถูกต้อง เรามีนักแปลหลากหลายภาษา และมีนักแปลที่มี่ความชำนาญของงาน แต่ละประเภท เป็นการแปลโดยใช้มนุษย์แปลไม่ใช้ Google Translate ไม่ว่าคุณจะเป็นใคร มีงานแปลเอกสารมากน้อยเพียงใด หรือต้องการแปลเอกสารชนิดไหนสามารถติดต่อเราได้ สถาบันแปลภาษาของเรายินดีให้คำปรึกษา เราบริการ แปลเอกสาร แปลภาษา ทุกประเภท โดยนักแปลมืออาชีพที่เต็มเปี่ยมไปด้วยคุณภาพ เช่น
- แปลเอกสารราชการ บริการแปลเอกสารราชการ แปลเอกสารสำคัญ แปลเอกสารรับรอง ทุกประเภท ทุกภาษา รับรองเอกสาร กรมการกงสุล กระทรวงต่างประเทศ รับรองทนาย กระทรวงยุติธรรม โนตารี่ พับลิค (Notary Public) และอื่น ๆ ทุกประเภท
- แปลเอกสารเฉพาะทาง รับแปลคู่มือ เอกสารฝึกอบรม แปลงบการเงิน รายงานประจำปี เอกสารวิชาการ เอกสารความปลอดภัย แปลหนังสือรับรองบริษัท จุดประสงค์บริษัท เอกสารการจดทะเบียนบริษัท รายชื่อผู้ถือหุ้น, รายงานประชุมผู้ถือหุ้นสามัญ
- แปลสัญญา แปลกฎหมาย เอกสารซื้อขาย เช่าซื้อต่าง ๆ แปลสิทธิบัตร หนังสือบริคณฑ์สนธิ ทุกประเภท โดยผู้เชี่ยวชาญด้านกฎหมาย พร้อมรับรองเอกสาร
- จัดหาล่าม บริการจัดหาล่ามภาษาหลักๆ ล่ามแปลสด ล่ามงานสัมมนา ล่ามรับรองแขกต่างชาติ ล่ามนำเที่ยว
- บริการเขียน resume บริการเขียนจดหมายแนะนำตัว (Cover Letter) รับเขียน resume, เขียน essayหริอ statement of purpose สำหรับสมัครงาน เรียนต่อ รวมถึงจดหมายประเภทอื่น ๆ ทุกประเภท รับเขียนบทความ SEO
- แปลโฆษณา แปลซับไตเติ้ลหนัง ละคร โบรชัวร์ ลงเสียง พากษ์เสียง แปลเว็บไซต์ presentation นำเสนอผลงาน ทำตัวอักษร Art Work หรือ Desktop Publishing
- แปลงานวิจัย แปลหนังสือเรียน แปลบทคัดย่อ ตรวจแก้วิทยานิพนธ์ แปลข่าวต่างประเทศ บทความวิชาการ journal จากต่างประเทศ ทุกภาษา
- แปลจดหมาย แปลจดหมายติดต่อกับเพื่อนต่างชาติ แปลอีเมล์ หาคู่ต่างชาติ ให้คำปรึกษาการแต่งงานกับชาวต่างชาติ และแปลเอกสารอื่น ๆ
การแปลสามารถแบ่งออกเป็น 2 ชนิด อย่างกว้างๆ ดังนี้
- การแปลตรงตัว (literal translation) – หรือการแปลตามตัวอักษร เป็นการแปลโดยพยายามคงความหมายและโครงสร้างของต้นฉบับไว้มากที่สุด มุ่งความถูกต้องแม่นยําเป็นหลัก แต่อาจมีการเปลี่ยนแปลงทางด้านโครงสร้าง (Structure) และการใช้คําบ้าง เพื่อให้เป็นไปตามหลักการใช้ภาษาของภาษาฉบับแปล การแปลลักษณะนี้ใช้ในกลุ่มนักวิชาการหรือกลุ่มเฉพาะอาชีพที่ต้องการความถูกต้องของ สาระข้อเท็จจริง เพื่อจุดประสงค์ในด้านการศึกษาค้นคว้าหรือการนําไปปฏิบัติ เช่น การแปลฉลากยา ขั้นตอนการทดลอง คู่มือปฏิบัติการเป็นต้น นอกจากนี้ กฎหมายสนธิสัญญาระหว่างประเทศ รายงาน และเอกสารราชการต่าง ๆ ก็ใช้วิธีการแปลแบบตรงตัวเช่นกัน
- การแปลสรุปความ หรือเอาความ (non-literal translation) – การแปลลักษณะนี้ ไม่ได้มุ่งรักษาโครงสร้าง ตามความหมายหรือรูปแบบของต้นฉบับอย่างเคร่งครัด มีการโยกย้ายขยายความหรือตัดทอนหรือเปลี่ยนแปลงรูปคําหรือไวยากรณ์ได้ การแปลลักษณะนี้นิยมใช้กับเรื่องที่ไม่จําเป็นต้องรักษาความถูกต้องแน่นอนของต้นฉบับ การแปลลักษณะนี้ใช้ในสื่อมวลชนทุกประเภทโดยเฉพาะเพื่อความบันเทิงผู้แปลอาจอ่านจบทีละย่อหน้า ทําความเข้าใจกับเนื้อหา วิธีคิด จุดมุ่งหมายของผู้เขียนและสิ่งที่ละไว้ในฐานที่เข้าใจ เมื่อสรุปเนื้อหาหลักของต้นฉบับแล้วจึงถ่ายทอดออกมาโดยเรียบเรียบใหม่ การแปลลักษณะนี้เป็นการแปลที่นิยมแพร่หลาย ตัวอย่างของการแปลลักษณะนี้ คือ การแปลนวนิยายเรื่องสั้น นิทาน บทวิทยุ โทรทัศน์
บริการแปลเอกสารราชการภาษาไทย และเอกสารอื่น ๆ ทุกประเภท
ประเภทเอกสารราชการ
|
ประเภทเอกสารวิชาการ
ประเภทเอกสารทางการศึกษา
ประเภทเอกสารอื่นๆ
|
ประเภทเอกสารทางธุรกิจการค้า
ประเภทเอกสารทางกฎหมาย
|
ลักษณะของภาษาในงานแปลที่ดีควรมีลักษณะดังนี้
- มีความชัดเจน คือเป็นภาษาที่มีลักษณะกระชับ ไม่ใช้คําที่ไม่จําเป็น รูปประโยคควรเป็นประโยคสั้น ๆ หลีกเลี่ยงโครงสร้างประโยคที่ซับซ้อน สลับที่ ใช้ข้อความที่แสดงความคิดได้แจ่มแจ้ง เช่น ประโยคเดียวแสดงความคิดเดียว ไม่กํากวมหรือชวนให้ตีความได้หลายแง่หลายมุม
- มีความเหมาะสม ผู้แปลต้องเลือกใช้ลีลาการเขียนให้สอดคล้องกับลักษณะของเรื่องที่จะแปล เช่น ถ้าแปลนวนิยายก็อาจใช้สำนวนโวหารเหมาะๆ ให้เกิดภาพพจน์ได้ แต่ถ้าแปลงานด้านกฎหมายหรือการแพทย์ต้องใช้ศัพท์เฉพาะและลีลาการเขียนที่สั้นๆ ไม่ใช้คําหรูหราหรือสํานวนอ้อมค้อมแต่อย่างใด
- มีความเรียบง่าย ใช้ภาษาที่เรียบง่ายและสัมพันธ์กับความคิดที่กระจ่างแจ้งและต้องตรงตามต้นฉบับ
- มีความสมเหตุสมผล ในภาษาแต่ละภาษา มีความสมเหตุสมผลต่างกัน ภาษาที่ใช้ก็ต้องให้มีความสมเหตุสมผลเท่าๆกับที่ภาษาต้นฉบับมีด้วย
ภาษาที่เรามีบริการแปล
A :
Abkhazian / Abkhaz, Acholi, Afar, Afrikaans, Akan, Amharic, Albanian, Aramaic, Avar, Arabic, Acehnese, Adyghe, Alemannic, Anglo-Saxon,
Aromaniann, Apache, Armenian, Ashanti, Assamese, Assyrian, Aymara, Azerbaijani, Aragonese, Asturian, Alsatian,
Abkhazian / Abkhaz, Acholi, Afar, Afrikaans, Akan, Amharic, Albanian, Aramaic, Avar, Arabic, Acehnese, Adyghe, Alemannic, Anglo-Saxon,
Aromaniann, Apache, Armenian, Ashanti, Assamese, Assyrian, Aymara, Azerbaijani, Aragonese, Asturian, Alsatian,
B : Bambara, Bashkir, Bengali, Basque, Belarusian (Taraškievica), Buginese, Bhutani, Bihari, Bislama, Bosnian, Banyumasan, Belarusian, Buryat, Breton,
Bulgarian, Burmese, Byelorussian, Bavarian, Bishnupriya Manipuri,
Bulgarian, Burmese, Byelorussian, Bavarian, Bishnupriya Manipuri,
C : Cambodian, Cantonese, Catalan, Cape, Corsican, Cebuano, Chewa, Chuvash, Canadian French, Chinese Simplified, Chinese Traditional,
Chamorro, Cherokee, Central Bicolano, Chavacano, Chechen, Cornish, Chuukese, Croatian, Czech, Cheyenne, Chichewa, Choctaw, Cree,
Crimean Tatar,
Chamorro, Cherokee, Central Bicolano, Chavacano, Chechen, Cornish, Chuukese, Croatian, Czech, Cheyenne, Chichewa, Choctaw, Cree,
Crimean Tatar,
D : Danish, Dari, Dutch Low Saxon, Dinka, Divehi, Dutch, Dzongkha,
E : Edo, Efik, English, Extremaduran, Esperanto, Estonian, Emilian-Romagnol, European Portuguese, Ethiopian, Ewe, Erzya, English (UK),
F : Faroese, Farsi, Fiji, Fijian, Flemish, Finnish, French, Faroese, Fiji Hindi, Friulian, Fula, Fulani, Fulfulde, Frisian,
G : Ga, Gagauz, Gan, Gilaki, Gothic, Galician, Georgian, German, Greek, Greenlandic, Guarani, Gujarati, Goan Konkani,
H : Haitian, Hakka, Hausa, Herero, Haitian (Creole), Hawaiian, Ho, Hebrew, Hill Mari, Hindi, Hmong, Hungarian, Hiri Motu,
I : Ibibio, Icelandic, Igbo, Ido, Ilocano, Inuktitut, Irish, Inupiak, Indonesian, Interlingua, Italian,
J : Japanese, Javanese, Jamaican Patois,
K : Kanjobal, Kannada, Karen, Kashmiri, Kazakh, Kalmyk, Karachay-Balkar, Komi, Kurmanji (Northern Kurdish), Khmer, Kikuyu, Kinyarwanda, Kirghiz,
Kabardian, Kanuri, Karakalpak, Komi-Permyak, Kirundi, konkani, Korean, Kurdish, Kabyle, Kapampangan, Kashubian, Kuanyama,
Kabardian, Kanuri, Karakalpak, Komi-Permyak, Kirundi, konkani, Korean, Kurdish, Kabyle, Kapampangan, Kashubian, Kuanyama,
L : Laotian, Latin, Latvian, Laos, Ligurian, Lombard, Luxembourgish, Lakota , Lebanese, Levantine, Lingala, Ladino, Latgalian, Limburgish, Low Saxon, Lithuanian, Luganda, Lak, Lezgian, Lojban, Lower Sorbian, Lutshootseed,
M : Macedonian, Malagasy, Malay, Maghrebi, Malayalam, Maltese, Mam, Manx, Min Dong, Mingrelian, Muscogee, Mandarin, Mandingo, Mandinka,
Maori, Marathi, Mongolian, Mazandarani, Min Nan, Mirandese, Maay Maayc, Marshallese, Mien, Mina, Moldovan, Moroccan, Maithili, Meadow Mari,
Minangkabau, Moksha, Manx Gaeli,
Maori, Marathi, Mongolian, Mazandarani, Min Nan, Mirandese, Maay Maayc, Marshallese, Mien, Mina, Moldovan, Moroccan, Maithili, Meadow Mari,
Minangkabau, Moksha, Manx Gaeli,
N : Navajo, Nepali, Ndonga, Norfolk, Northern Luri, Novial, Nuer, Nahuatl, Neapolitan, Norman, Northern Sami, Nuosu, Norwegian, Nauruan, Newar,
North Frisian, Northern Sotho, Nedebele,
North Frisian, Northern Sotho, Nedebele,
O : Occitan, Old Church Slavonic, Oriya/Odia, Ossetian, Oromo, Ojibwe,
P : Papiamento, Pashto, philipine, Pali, Pennsylvania German, Pontic, Palewani (Sourthern Kurdish), Polish, Portuguese, Palatinate German, Pangasinan,
Picard, Brazilian Portuguese, Persian (Farsi), Pulaar, Persian, Punjabi, Paraguayan, Piedmontese, Pidgin,
Picard, Brazilian Portuguese, Persian (Farsi), Pulaar, Persian, Punjabi, Paraguayan, Piedmontese, Pidgin,
Q : Quechua, Quiche,
R : Romanian, Ripuarian, Rusyn, Russian, Romani, Rwanda, Romansh,
S : Sami, Samoan, Sangro, Sanskrit, Sara, Serbian, Serbo, Sesotho, Setswana, Slovenian, Somali, Sorani, Scots, Silesian, Sranan, Swiss French, Seneca,
Shona, Sichuan, Sicilian, Sindhi, Slovenian, Sinhalese, siswati, Slovak, Slovene, Soninke, Sakha, Samogitian, Scottish Gaelic, Southern Azerbaijani, Swati,
Swiss Italian, Sepedi, Sotho, Spanish, Spanish (Latin-america), Sundanese, Swahili, Swedish, Sango, Sardinian, Saterland Frisian, Shanghainese, Sranan,
Syriac, Sorani (Central Kurdish),
Shona, Sichuan, Sicilian, Sindhi, Slovenian, Sinhalese, siswati, Slovak, Slovene, Soninke, Sakha, Samogitian, Scottish Gaelic, Southern Azerbaijani, Swati,
Swiss Italian, Sepedi, Sotho, Spanish, Spanish (Latin-america), Sundanese, Swahili, Swedish, Sango, Sardinian, Saterland Frisian, Shanghainese, Sranan,
Syriac, Sorani (Central Kurdish),
T : Tagalog, Tahitian, Taiwanese, Tamazight, Tamil, Tatar, Tajik, Tigrinya, Tumbuka, Telugu, Teochew, Tetun, Thai, Tibetan, Tigrinya, Tarantino, Tok Pisin,
Tuvan, Tongan, Tshiluba, Tsonga, Turkish, Turkmen, Twi, Tetum, Tswana,
Tuvan, Tongan, Tshiluba, Tsonga, Turkish, Turkmen, Twi, Tetum, Tswana,
U : Uighur, Ukrainian, Uyghur, Urdu, Udmurt, Upper Guinea Creole, Uzbek, Upper Sorbian,
V : Welsh, Waray, West Frisian, Wolof, West Flemish, Walloon, Wu,
W : xhosa,
X : Yiddish, Yoruba, Yi,
Y : Yiddish, Yoruba, Yi,
Z : Zulu, Zeelandic, Zazaki, Zhuang,
รับรองเอกสารโดยกระทรวงต่างประเทศ กรมการกงสุล หรือนิติกรณ์ไทย
บริการรับรองเอกสารโดยกระทรวงต่างประเทศ
กรมการกงสุล หรือนิติกรณ์ไทย
iTS (i Translation Services) บริการรับรองเอกสารทั่วโลก
ผ่านระบบอีเมลล์หรือไปรษณีย์ระหว่างประเทศ
ประเภทการรับรองเอกสาร
เอกสารที่จะนำไปใช้ที่ศาลยุติธรรมไทย เอกสารที่แปลมาจากภาษาอังกฤษและจีน หากจะนำไปใช้ที่ศาลไทยต้องผ่านการแปลและรับรองโดย ผู้เชี่ยวชาญศาลยุติธรรมก่อน จึงจะสามารถนำไปใช้ได้ ซึ่งทางเรามีบริการในส่วนนี้ ลูกค้าสามารถโทรสอบถามได้
การรับรองเอกสารโดยกระทรวงต่างประเทศ
ระยะเวลาดำเนินการ
ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับการรับรองเอกสารโดยกระทรวงต่างประเทศ
การรับรองเอกสารแบ่งเป็น 3 ประเภทได้แก่
1. การรับรองคำแปล
2. การรับรองลายมือชื่อผู้มีอำนาจลงนามในเอกสาร
3. การรับรองสำเนาเอกสารที่หน่วยงานราชการไทยออกให้
รายละเอียดของการรับรองเอกสารแต่ละประเภทมีดังนี้
1. การรับรองคำแปล
1.1 การรับรองคำแปลเอกสารภาษาไทยเป็นอังกฤษ ได้แก่
1.2 การรับรองคำแปลเอกสารภาษาอังกฤษเป็นไทย ได้แก่ เอกสารการทะเบียนราษฎรและเอกสารเกี่ยวกับบุคคล เช่น สูติบัตร มรณบัตร บัตรประจำตัวประชาชน หนังสือเดินทาง ฯลฯการยื่นคำร้อง
กรอกคำร้องตามแบบฟอร์มที่กำหนดพร้อมแนบเอกสารดังต่อไปนี้
2. การรับรองลายมือชื่อผู้มีอำนาจลงนามในเอกสาร ได้แก่
การยื่นคำร้อง
กรอกคำร้องตามแบบฟอร์มที่กำหนด พร้อมแนบเอกสารดังต่อไปนี้
ค่าธรรมเนียม
บริการปกติ ฉบับละ 400 บาท บริการด่วน ฉบับละ 800 บาท
3. การรับรองสำเนาเอกสารที่หน่วยงานราชการไทยออกให้
การยื่นคำร้อง
วิธีการเลือกผู้ให้บริการรับแปลเอกสารที่มีคุณภาพ
- รับรองเอกสารโดยกระทรวงต่างประเทศ
- รับรองเอกสารโดยกงสุลไทย
- รับรองเอกสารโดยกรมการกงสุล
- รับรองเอกสารโดยนิติกรณ์ไทย
- รับรองโดยทนายความ
- รับรองโดย Certified Translator
- รับรอง Certified Correct Translation
- รับรอง Certified True Copy
- รับรองโดยสถานทูตของประเทศต่างๆ
- รับรองโดยบริษัท หรือผู้แปลเอกสาร
- รับรองโดยหน่วยงานทางราชการอื่น ๆ
- รับรองโดยผู้เชี่ยวชาญศาลยุติธรรม
เอกสารที่จะนำไปใช้ที่ศาลยุติธรรมไทย เอกสารที่แปลมาจากภาษาอังกฤษและจีน หากจะนำไปใช้ที่ศาลไทยต้องผ่านการแปลและรับรองโดย ผู้เชี่ยวชาญศาลยุติธรรมก่อน จึงจะสามารถนำไปใช้ได้ ซึ่งทางเรามีบริการในส่วนนี้ ลูกค้าสามารถโทรสอบถามได้
การรับรองเอกสารโดยกระทรวงต่างประเทศ
- เอกสารไทยนำไปใช้ต่างประเทศ ลูกค้าท่านใดที่ต้องเดินทางไปต่างประเทศ ควรนำเอกสารส่วนตัวของท่านมาดำเนินเรื่องเพื่อขอรับรองเอกสารจากกองสัญชาติและนิติกรณ์ กรมการกงสุล กระทรวงต่างประเทศของไทยก่อน จึงจะสามารถนำไปใช้ในต่างประเทศได้ โดยลูกค้าสามารถแปลเอกสารดังกล่าวได้เอง โดยดูตัวอย่างจากเวปไซต์ของกรมการกงสุล www.consular.go.th หรือหากลูกค้า ต้องการความสะดวก ถูกต้อง รวดวเร็ว ติดต่อบริษัท NYC Visa&Translation Service ของเรา สำหรับลูกค้าที่ต้องรีบเดินทางไปต่างประเทศ ท่านสามารถนำเอกสารดังกล่าว ไปแปลที่ต่างประเทศและให้สถานทูตไทยในประเทศนั้นๆ รับรองเอกสารให้ได้ แต่ทางเรา ขอเตือนว่า ท่านอาจมีค่าใช้จ่ายมากกว่าที่เมืองไทย 2-3 เท่า
- เอกสารต่างประเทศนำมาใช้ในไทย ลูกค้าท่านใดมีเอกสารจากต่างประเทศที่จะนำมาใช้ในประเทศไทย ต้องนำเอกสารดังกล่าว มาดำเนินเรื่องขอรับรองจากกองสัญชาติและนิติกรณ์ กรมการกงสุล กระทรวงต่างประเทศของไทยก่อน จึงจะสามารถนำเอกสารดังกล่าวมาใช้กับหน่วยงานรัฐบาลของไทยได้ โดยมีขั้นตอนเพิ่มเติมนอกเหนือจากที่กล่าวไปในหัวข้อแรกคือ เอกสารดังกล่าว ต้องผ่านการรับรองจากสถานทูตของประเทศเจ้าของเอกสารในไทยก่อนว่า เอกสารดังกล่าวมาจากประเทศดังกล่าวจริง ทางกระทรวงต่างประเทศของไทยจึงจะทำเรื่องรับรองเอกสารดังกล่าวให้
ระยะเวลาดำเนินการ
- ทั่วไป ใช้เวลา 5 วันทำการ ไม่นับวันยื่นเอกสาร (ไม่รวมระยะเวลาในการจัดส่งเอกสาร)
- เร่งด่วน ใช้เวลา 2 วันทำการ วันเดียวกันกับวันยื่นเอกสาร (ค่าธรรมเนียมรัฐเพิ่มสองเท่า)
- เวลาข้างต้นสำหรับลูกค้าที่อาศัยอยู่ในประเทศไทยเท่านั้น
- เวลาข้างต้นนี้ ไม่นับรวม ระยะเวลาที่บริษัทฯ รอเอกสารครบทั้งหมดของลูกค้า, ระยะเวลาแปลและระยะเวลาส่งเอกสารทางไปรษณีย์ ทางเราจะแจ้งระยะเวลาโดยประมาณให้ท่านทราบ)
- ระยะเวลาที่บริษัทฯ ต้องใช้เพื่อดำเนินการโดยประมาณอยู่ที่ 10-15 วันทำการ (ระยะเวลานี้นับรวมตั้งแต่เริ่มต้นจนกระทั่งลูกค้าได้รับเอกสารคืน)
ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับการรับรองเอกสารโดยกระทรวงต่างประเทศ
การรับรองเอกสารแบ่งเป็น 3 ประเภทได้แก่
1. การรับรองคำแปล
- 1.1 คำแปลเอกสารภาษาไทยเป็นอังกฤษ
- 1.2 คำแปลเอกสารภาษาอังกฤษเป็นไทย
- 1.3 คำแปลเอกสารภาษาอื่นที่ไม่ใช่ภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย และเอกสารภาษาไทย เป็นภาษาอื่นที่ไม่ใช่ภาษาอังกฤษ
2. การรับรองลายมือชื่อผู้มีอำนาจลงนามในเอกสาร
3. การรับรองสำเนาเอกสารที่หน่วยงานราชการไทยออกให้
รายละเอียดของการรับรองเอกสารแต่ละประเภทมีดังนี้
1. การรับรองคำแปล
1.1 การรับรองคำแปลเอกสารภาษาไทยเป็นอังกฤษ ได้แก่
- เอกสารการทะเบียนราษฎรและเอกสารเกี่ยวกับบุคคล เช่น สูติบัตร มรณบัตร บัตรประจำตัวประชาชน บัตรประจำตัวคนต่างด้าว ทะเบียนบ้าน ใบเปลี่ยนชื่อหรือนามสกุล ฯลฯ
- เอกสารการทะเบียนครอบครัว เช่น ใบสำคัญการสมรส ทะเบียนสมรส ใบสำคัญแสดงการหย่า ทะเบียนหย่า ทะเบียนรับบุตรบุญธรรมหนังสือรับรอง (ความเป็นโสด) ที่อำเภอออกให้ ฯลฯ (ทะเบียนราษฎรและทะเบียนครอบครัวเป็นแบบฟอร์มมาตรฐานของทางราชการ ท่านที่สามารถแปลได้ด้วยตนเอง ขอรับแบบฟอร์มคำแปลภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษได้ที่กองสัญชาติและนิติกรณ์ กรมการกงสุล แจ้งวัฒนะ หรือ www.mfa.go.th/web/804.php)
- เอกสารการทะเบียนและเอกสารที่เกี่ยวกับนิติบุคคล เช่น ทะเบียนนิติบุคคล ใบทะเบียนการค้า ใบสำคัญแสดงการจดทะเบียนบริษัท หนังสือบริคณห์สนธิรายชื่อผู้ถือหุ้น รายงานการตรวจสอบบัญชี งบดุล ใบเสร็จการชำระภาษี ฯลฯ
- เอกสารการศึกษา เช่น ใบสุทธิ ประกาศนียบัตร ปริญญาบัตร หนังสือรับรองจากสถาบันการศึกษา ฯลฯ ทั้งนี้ หากเป็นเอกสารที่ออกโดยสถาบันการศึกษาของเอกชนต้องผ่านการรับรองจากกระทรวงศึกษาธิการก่อน หรือมิเช่นนั้น สถาบันการศึกษาดังกล่าวต้องจัดส่งตัวอย่างลายมือชื่อผู้มีอำนาจลงนามมาให้กรมการกงสุล กองสัญชาติและนิติกรณ์ ทราบเป็นการล่วงหน้า หากเป็นการรับรองสำเนาเอกสารการศึกษา จะต้องให้สถาบันการศึกษารับรองในสำเนานั้นเสียก่อน
- เอกสารอื่น ๆ เช่น ใบอนุญาตจัดหางานไปทำงานต่างประเทศ ใบอนุญาตขับขี่รถยนต์ ฯลฯ
1.2 การรับรองคำแปลเอกสารภาษาอังกฤษเป็นไทย ได้แก่ เอกสารการทะเบียนราษฎรและเอกสารเกี่ยวกับบุคคล เช่น สูติบัตร มรณบัตร บัตรประจำตัวประชาชน หนังสือเดินทาง ฯลฯการยื่นคำร้อง
กรอกคำร้องตามแบบฟอร์มที่กำหนดพร้อมแนบเอกสารดังต่อไปนี้
- ต้นฉบับภาษาไทย พร้อมสำเนา 1 ชุด
- ต้นฉบับคำแปลภาษาอังกฤษ
- สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน
- หากยื่นแทนเจ้าของเอกสารต้องมีหนังสือมอบอำนาจพร้อมสำเนาบัตร ประจำตัวประชาชนของผู้มอบอำนาจและผู้รับมอบอำนาจ และหรือสำเนาพาสปอร์ต
2. การรับรองลายมือชื่อผู้มีอำนาจลงนามในเอกสาร ได้แก่
- 2.1 เอกสารทางการค้า เช่น ใบกำกับราคาสินค้า (invoice) ใบรับรองแหล่งกำเนิดสินค้า (Certificate of Orgin -C/O)ฯลฯ ต้องผ่านการรับรองจากกระทรวงพาณิชย์หรือหอการค้าไทย หรือสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยก่อน
- 2.2 เอกสารทางการเงิน เช่น หนังสือรับรองการเงินที่ออกโดยธนาคารและลงนามโดยผู้มีอำนาจของธนาคารที่ออกเอกสารนั้น
- 2.3 หนังสือมอบอำนาจ (ในนามบริษัท) ผู้มอบอำนาจต้องเป็นกรรมการบริษัทผู้มีอำนาจลงนามตามที่ระบุในหนังสือรับรองของกระทรวงพาณิชย์ และต้องมาลงนามต่อหน้าเจ้าหน้าที่
- 2.4 หนังสือมอบอำนาจ (ส่วนบุคคล) ผู้มอบอำนาจต้องมาลงนามต่อหน้าเจ้าหน้าที่
- 2.5 หนังสือรับรองอื่น ๆ อาทิ หนังสือรับรองผลการวิเคราะห์สินค้า และหนังสือรับรองความประพฤติ ต้องเป็นเอกสารซึ่งออกหรือผ่านการรับรองจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สำหรับใบตรวจโรคหรือใบรับรองแพทย์ที่ออกโดยโรงพยาบาลเอกชนที่ไม่มี ตัวอย่างลายมือชื่อให้กองสัญชาติฯ ตรวจสอบ ต้องนำเอกสารดังกล่าวไปให้แพทยสภารับรองก่อน
การยื่นคำร้อง
กรอกคำร้องตามแบบฟอร์มที่กำหนด พร้อมแนบเอกสารดังต่อไปนี้
- เอกสารที่ต้องการรับรอง
- สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน หรือสำเนาหนังสือเดินทางของเจ้าของเอกสาร
- หากเป็นเอกสารของบริษัทต้องมีหนังสือรับรองบริษัทที่กระทรวงพาณิชย์ ออกให้ หากยื่นแทนเจ้าของเอกสารต้องมีหนังสือมอบอำนาจพร้อมสำเนาบัตรประจำตัวประชาชนของผู้มอบอำนาจและผู้รับมอบอำนาจ
ค่าธรรมเนียม
บริการปกติ ฉบับละ 400 บาท บริการด่วน ฉบับละ 800 บาท
3. การรับรองสำเนาเอกสารที่หน่วยงานราชการไทยออกให้
- เอกสารการทะเบียนราษฎรและเอกสารเกี่ยวกับบุคคล เช่น สูติบัตร มรณบัตร บัตรประจำตัวประชาชน หนังสือเดินทาง ฯลฯ
- เอกสารการทะเบียนครอบครัว เช่น ใบสำคัญการสมรส ทะเบียนสมรสใบสำคัญแสดงการหย่า หนังสือรับรองความเป็นโสด ฯลฯ
- เอกสารการทะเบียนและเอกสารที่เกี่ยวกับนิติบุคคล เช่น ทะเบียนนิติบุคคล ใบทะเบียนการค้า ใบสำคัญแสดงการจดทะเบียนบริษัท หนังสือบริคณห์สนธิ ฯลฯ
- เอกสารการศึกษา เช่น ใบสุทธิ ประกาศนียบัตร ปริญญาบัตร และหนังสือรับรองสถาบันการศึกษา ฯลฯ
การยื่นคำร้อง
- กรอกคำร้องตามแบบฟอร์มที่กำหนด พร้อมแนบเอกสารดังต่อไปนี้
- ต้นฉบับเอกสารที่ต้องการรับรอง พร้อมสำเนา 1 ชุด
- สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน หากยื่นแทนเจ้าของเอกสารต้องมีหนังสือมอบอำนาจ และสำเนาบัตรประจำตัวประชาชนของผู้มอบอำนาจและผู้รับมอบอำนาจ
วิธีการเลือกผู้ให้บริการรับแปลเอกสารที่มีคุณภาพ
- เลือกผู้ให้บริการรับแปลเอกสารที่มีสำนักงานเป็นหลักแหล่งแน่นอน
- เลือกผู้ให้บริการรับแปลเอกสารมีประวัติการดำเนินธุรกิจไม่ต่ำกว่า 10 ปี
- เลือกผู้ให้บริการรับแปลเอกสารที่มีความน่าเชื่อถือ
- เลือกผู้ให้บริการรับแปลเอกสารที่มีทีมงานนักแปลเจ้าของภาษามืออาชีพ
- เลือกผู้ให้บริการรับแปลเอกสารที่สามารถป้องกันการรั่วไหลของข้อมูลได้
- เลือกผู้ให้บริการรับแปลเอกสารที่มีประสบการณ์ และได้รับความไว้วางใจจากลูกค้าทั่วโลก
- เลือกผู้ให้บริการรับแปลเอกสารมืออาชีพ เลือก iTS (i Translation Services)
ขั้นตอนการรับรองเอกสาร
สถานที่ให้บริการรับรองนิติกรณ์เอกสาร
สถานที่ให้บริการรับรองนิติกรณ์เอกสาร
กองสัญชาติและนิติกรณ์
สำนักงานสัญชาติและนิติกรณ์ สถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน MRT คลองเตย
สำนักงานหนังสือเดินทางชั่วคราว เชียงใหม่
สำนักงานหนังสือเดินทางชั่วคราว อุบลราชธานี
สำนักงานหนังสือเดินทางชั่วคราว สงขลา
อ้างอิง : https://consular.mfa.go.th/th/publicservice/%E0%B8%AA%E0%B8%96%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B9%83%E0%B8%AB%E0%B9%89%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B9%8C%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3
การรับรองเอกสารที่ออกโดยหน่วยงานต่างๆ
เอกสารกระทรวงมหาดไทยการรับรองเอกสาร - กระทรวงมหาดไทย
การรับรองเอกสารที่ออกโดยที่ว่าการอำเภอ กิ่งอำเภอ สำนักงานเขตหรือหน่วยงานอื่น ๆ ของกระทรวงมหาดไทย
1. เอกสารทะเบียนราษฎร ทะเบียนครอบครัว ได้แก่
- สูติบัตร
- มรณบัตร
- ใบสำคัญการจดทะเบียนสมรส / ทะเบียนสมรส
- ใบสำคัญการจดทะเบียนหย่า / ทะเบียนหย่า
- ทะเบียนบ้าน
- บัตรประชาชน
- หนังสือสำคัญแสดงการเปลี่ยนชื่อสกุล ช.2
- หนังสือสำคัญแสดงการเปลี่ยนชื่อตัว ช.3
- หนังสือสำคัญแสดงการร่วมใช้ชื่อสกุล ช.4
2. หนังสือรับรองที่ออกโดยที่ว่าการอำเภอ กิ่งอำเภอ สำนักงานเขต ได้แก่
- หนังสือรับรองสถานภาพสมรส
- หนังสือรับรองการเกิด
3. ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
- ประกาศการแปลงสัญชาติ
- ประกาศการเสียสัญชาติ
- ประกาศการได้สัญชาติ
4. ใบอนุญาตใหัสั่งหรือนำเข้าอาวุธปืน
เอกสารกระทรวงกลาโหมการรับรอง - เอกสารกระทรวงกลาโหม
- แบบ สด. 9 (หนังสือลงบัญชีทหารกองเกิน)
- แบบ สด. 43 (หลักฐานการผ่านรับราชการทหาร)
เอกสารสำนักงานตำรวจแห่งชาติการรับรอง - เอกสารสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ได้แก่
- หนังสือรับรองความประพฤติ
- หนังสือรับรองการไม่มีประวัติอาชญากรรม
เอกสารศาลการรับรอง - เอกสารเกี่ยวกับศาล ได้แก่
- คำพิพากษา
- คำสั่งศาล
การดำเนินการ
- ต้องขอคัดสำเนาจากศาล
- ศาลจะรับรองสำเนาถูกต้องให้
- นำเอกสารไปแปลเป็นภาษาอังกฤษ
เอกสารธุรกิจการค้าการรับรอง - เอกสารธุรกิจการค้า
1. หนังสือรับรองธนาคารว่ามีบัญชีเงินฝากกับธนาคาร
การรับรอง
- เอกสารธนาคารต้นฉบับเพื่อรับรองลายมือชื่อเจ้าหน้าที่ธนาคารที่ปรากฎบนเอกสาร
2. ใบรับรองแหล่งกำเนิดสินค้า - Certificate of Origin
การรับรอง
- ใบกำกับสินค้าออกโดย
หอการค้า เพื่อรับรองลายมือชื่อเจ้าหน้าที่หอการค้าไทย3. ใบกำกับราคาสินค้า - Invoice / Packing List / Bill of Lading
การรับรอง
- เอกสารที่ผ่านการรับรอง
จากหอการค้า เพื่อรับรองลายมือชื่อเจ้าหน้าที่หอการค้าไทย
4. Phytosanitary Certificate
การรับรอง
- เอกสารกรมวิชาการเกษตร
(ภาษาอังกฤษ)เพื่อรับรองลายมือชื่อเจ้าหน้าที่กระทรวงเกษตรฯ
5. Health Certificate for Fishery and aguaculture product originating in Thailand
การรับรอง
- เอกสารกรมประมง
(ภาษาอังกฤษ) เพื่อรับรองลายมือชื่อเจ้าหน้าที่กรมประมง
6. Certificate of Manufacturer
การรับรอง
- เอกสารองค์การอาหารและยา
(ภาษาอังกฤษ) เพื่อรับรองลายมือชื่อเลขาธิการ องค์การฯ
7. หนังสือบริคณห์สนธิ
การดำเนินการ
- บริษัทต้องไปขอคัดสำเนาจากกระทรวงพาณิชย์
- กระทรวงพาณิชย์ จะรับรองสำเนาถูกต้อง
- นำเอกสารไปแปลเป็นภาษาอังกฤษ
เอกสารการแพทย์การรับรองเอกสาร - เอกสารการแพทย์
1. ใบรับรองแพทย์ - ออกโดยโรงพยาบาลของรัฐบาล
2. ใบรับรองแพทย์ - ออกโดยโรงพยาบาลของเอกชน
การรับรอง
- ใบรับรองแพทย์เพื่อรับรองลายมือชื่อแพทย์ / รับรองลายมือชื่อแพทยสภา
3. หนังสือรับรอง - การตรวจพิสูจน์หมู่เลือดและ DNA
3.1 เอกสารโรงพยาบาลรัฐบาล
3.2 เอกสารโรงพยาบาลเอกชน
- หนังสือรับรองเพื่อรับรองลายมือชื่อแพทย์ / รับรองลายมือชื่อแพทยสภา
4. หนังสือรับรอง - ศัลยกรรมความงาม
การรับรอง
- ใบรับรองแพทย์ เพื่อรับรองลายมือชื่อแพทย์ / รับรองลายมือชื่อแพทยสภา
เอกสารการศึกษาการรับรองเอกสาร - เอกสารการศึกษา
1. เอกสารการศึกษา - สถานศึกษาของรัฐบาล อาทิ
- ประกาศนียบัตร
- ปริญญาบัตร
- ใบแสดงผลการเรียน
2. เอกสารการศึกษา - สถานศึกษาของเอกชน อาทิ
- ประกาศนียบัตร
- ปริญญาบัตร
- ใบแสดงผลการเรียน
การรับรอง
- สำเนาปริญญาบัตร /
ประกาศนียบัตร
เพื่อรับรองลายมือชื่อ อธิการบดี / ผู้มีอำนาจลงนาม
- ใบแสดงผลการเรียน /
ใบรับรองผลการเรียน
เพื่อรับรองลายมือชื่อ นายทะเบียน / เจ้าหน้าที่3. ใบรับรอง - การฝึกอบรม อาทิ
- ประกาศนียบัตร
- หนังสือรับรองว่าได้อบรมจากสถาบันเสริมสวย หรือ แพทย์แผนโบราณเอกชน
การรับรอง
- ใบประกาศ เพื่อรับรองลายมือชื่อเจ้าของโรงเรียน / สถาบัน
หนังสือยินยอมให้บุตรไปต่างประเทศการรับรอง - หนังสือยินยอมให้บุตรไปต่างประเทศ
การนำบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ (อายุยังไม่ถึง 20 ปี) ไปต่างประเทศ
1. กรณี บิดา - มารดา จดทะเบียนสมรสกัน
ขึ้นอยู่กับความยินยอมของ บิดา - มารดา หากยินยอมให้บุตรไปต่างประเทศได้
สามารถดำเนินการตามขั้นตอน ดังนี้
1.1 บิดา - มารดา ติดต่ออำเภอ / เขต เพื่อทำหนังสือยินยอม
1.2 นำหนังสือยินยอม ไปแปลเป็นภาษาอังกฤษ
1.3 นำหนังสือยินยอม + คำแปลภาษาอังกฤษ มายื่นขอรับรองนิติกรณ์
ที่กองสัญชาติฯ กรมการกงสุล
1.4 เมื่อเอกสารได้รับการรับรองแล้ว สามารถนำไปให้สถานเอกอัครราชทูตต่างประเทศ
ที่เกี่ยวข้องที่ตั้งอยู่ในประเทศไทยรับรองอีกครั้ง
2. กรณี บิดา - มารดา ไม่ได้จดทะเบียนสมรสกัน
2.1 บิดา - มารดา อยู่ด้วยกัน และยินยอมให้บุตรไปต่างประเทศ ให้ดำเนินการ ดังนี้
- บิดา - มารดา ติดต่ออำเภอ / เขต เพื่อทำหนังสือยินยอม
- นำหนังสือยินยอม ไปแปลเป็นภาษาอังกฤษ
- นำหนังสือยินยอม + คำแปลภาษาอังกฤษ มายื่นขอรับรองนิติกรณ์
ที่กองสัญชาติฯ กรมการกงสุล
- เมื่อเอกสารได้รับการรับรองแล้ว สามารถนำไปให้สถานเอกอัครราชทูตต่างประเทศ
ที่เกี่ยวข้องที่ตั้งอยู่ในประเทศไทยรับรองอีกครั้ง
2.2 บิดา - มารดา แยกทางกัน และไม่สามารถติดต่อฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งได้ ให้ดำเนินการ ดังนี้
- ให้ บิดา หรือ มารดา ผู้ที่จะนำบุตรไปต่างประเทศ ติดต่ออำเภอ / เขต
เพื่อทำหนังสือรับรองอุปการะเลี้ยงดูบุตร ว่าบุตรอยู่ในความดูแลของใคร และผู้นั้น
เป็นผู้ลงนามในหนังสือยินยอมแต่เพียงผู้เดียว
- นำหนังสือยินยอม ไปแปลเป็นภาษาอังกฤษ
- นำหนังสือยินยอม + คำแปลภาษาอังกฤษ มายื่นขอรับรองนิติกรณ์
ที่กองสัญชาติฯ กรมการกงสุล
- เมื่อเอกสารได้รับการรับรองแล้ว สามารถนำไปให้สถานเอกอัครราชทูตต่างประเทศ
ที่เกี่ยวข้องที่ตั้งอยู่ในประเทศไทยรับรองอีกครั้ง
การรับรองเอกสารที่ออกโดยที่ว่าการอำเภอ กิ่งอำเภอ สำนักงานเขตหรือหน่วยงานอื่น ๆ ของกระทรวงมหาดไทย
1. เอกสารทะเบียนราษฎร ทะเบียนครอบครัว ได้แก่
- สูติบัตร
- มรณบัตร
- ใบสำคัญการจดทะเบียนสมรส / ทะเบียนสมรส
- ใบสำคัญการจดทะเบียนหย่า / ทะเบียนหย่า
- ทะเบียนบ้าน
- บัตรประชาชน
- หนังสือสำคัญแสดงการเปลี่ยนชื่อสกุล ช.2
- หนังสือสำคัญแสดงการเปลี่ยนชื่อตัว ช.3
- หนังสือสำคัญแสดงการร่วมใช้ชื่อสกุล ช.4
2. หนังสือรับรองที่ออกโดยที่ว่าการอำเภอ กิ่งอำเภอ สำนักงานเขต ได้แก่
- หนังสือรับรองสถานภาพสมรส
- หนังสือรับรองการเกิด
3. ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
- ประกาศการแปลงสัญชาติ
- ประกาศการเสียสัญชาติ
- ประกาศการได้สัญชาติ
4. ใบอนุญาตใหัสั่งหรือนำเข้าอาวุธปืน
เอกสารกระทรวงกลาโหมการรับรอง - เอกสารกระทรวงกลาโหม
- แบบ สด. 9 (หนังสือลงบัญชีทหารกองเกิน)
- แบบ สด. 43 (หลักฐานการผ่านรับราชการทหาร)
เอกสารสำนักงานตำรวจแห่งชาติการรับรอง - เอกสารสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ได้แก่
- หนังสือรับรองความประพฤติ
- หนังสือรับรองการไม่มีประวัติอาชญากรรม
เอกสารศาลการรับรอง - เอกสารเกี่ยวกับศาล ได้แก่
- คำพิพากษา
- คำสั่งศาล
การดำเนินการ
- ต้องขอคัดสำเนาจากศาล
- ศาลจะรับรองสำเนาถูกต้องให้
- นำเอกสารไปแปลเป็นภาษาอังกฤษ
เอกสารธุรกิจการค้าการรับรอง - เอกสารธุรกิจการค้า
1. หนังสือรับรองธนาคารว่ามีบัญชีเงินฝากกับธนาคาร
การรับรอง
- เอกสารธนาคารต้นฉบับเพื่อรับรองลายมือชื่อเจ้าหน้าที่ธนาคารที่ปรากฎบนเอกสาร
2. ใบรับรองแหล่งกำเนิดสินค้า - Certificate of Origin
การรับรอง
- ใบกำกับสินค้าออกโดย
หอการค้า เพื่อรับรองลายมือชื่อเจ้าหน้าที่หอการค้าไทย3. ใบกำกับราคาสินค้า - Invoice / Packing List / Bill of Lading
การรับรอง
- เอกสารที่ผ่านการรับรอง
จากหอการค้า เพื่อรับรองลายมือชื่อเจ้าหน้าที่หอการค้าไทย
4. Phytosanitary Certificate
การรับรอง
- เอกสารกรมวิชาการเกษตร
(ภาษาอังกฤษ)เพื่อรับรองลายมือชื่อเจ้าหน้าที่กระทรวงเกษตรฯ
5. Health Certificate for Fishery and aguaculture product originating in Thailand
การรับรอง
- เอกสารกรมประมง
(ภาษาอังกฤษ) เพื่อรับรองลายมือชื่อเจ้าหน้าที่กรมประมง
6. Certificate of Manufacturer
การรับรอง
- เอกสารองค์การอาหารและยา
(ภาษาอังกฤษ) เพื่อรับรองลายมือชื่อเลขาธิการ องค์การฯ
7. หนังสือบริคณห์สนธิ
การดำเนินการ
- บริษัทต้องไปขอคัดสำเนาจากกระทรวงพาณิชย์
- กระทรวงพาณิชย์ จะรับรองสำเนาถูกต้อง
- นำเอกสารไปแปลเป็นภาษาอังกฤษ
เอกสารการแพทย์การรับรองเอกสาร - เอกสารการแพทย์
1. ใบรับรองแพทย์ - ออกโดยโรงพยาบาลของรัฐบาล
2. ใบรับรองแพทย์ - ออกโดยโรงพยาบาลของเอกชน
การรับรอง
- ใบรับรองแพทย์เพื่อรับรองลายมือชื่อแพทย์ / รับรองลายมือชื่อแพทยสภา
3. หนังสือรับรอง - การตรวจพิสูจน์หมู่เลือดและ DNA
3.1 เอกสารโรงพยาบาลรัฐบาล
3.2 เอกสารโรงพยาบาลเอกชน
- หนังสือรับรองเพื่อรับรองลายมือชื่อแพทย์ / รับรองลายมือชื่อแพทยสภา
4. หนังสือรับรอง - ศัลยกรรมความงาม
การรับรอง
- ใบรับรองแพทย์ เพื่อรับรองลายมือชื่อแพทย์ / รับรองลายมือชื่อแพทยสภา
เอกสารการศึกษาการรับรองเอกสาร - เอกสารการศึกษา
1. เอกสารการศึกษา - สถานศึกษาของรัฐบาล อาทิ
- ประกาศนียบัตร
- ปริญญาบัตร
- ใบแสดงผลการเรียน
2. เอกสารการศึกษา - สถานศึกษาของเอกชน อาทิ
- ประกาศนียบัตร
- ปริญญาบัตร
- ใบแสดงผลการเรียน
การรับรอง
- สำเนาปริญญาบัตร /
ประกาศนียบัตร
เพื่อรับรองลายมือชื่อ อธิการบดี / ผู้มีอำนาจลงนาม
- ใบแสดงผลการเรียน /
ใบรับรองผลการเรียน
เพื่อรับรองลายมือชื่อ นายทะเบียน / เจ้าหน้าที่3. ใบรับรอง - การฝึกอบรม อาทิ
- ประกาศนียบัตร
- หนังสือรับรองว่าได้อบรมจากสถาบันเสริมสวย หรือ แพทย์แผนโบราณเอกชน
การรับรอง
- ใบประกาศ เพื่อรับรองลายมือชื่อเจ้าของโรงเรียน / สถาบัน
หนังสือยินยอมให้บุตรไปต่างประเทศการรับรอง - หนังสือยินยอมให้บุตรไปต่างประเทศ
การนำบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ (อายุยังไม่ถึง 20 ปี) ไปต่างประเทศ
1. กรณี บิดา - มารดา จดทะเบียนสมรสกัน
ขึ้นอยู่กับความยินยอมของ บิดา - มารดา หากยินยอมให้บุตรไปต่างประเทศได้
สามารถดำเนินการตามขั้นตอน ดังนี้
1.1 บิดา - มารดา ติดต่ออำเภอ / เขต เพื่อทำหนังสือยินยอม
1.2 นำหนังสือยินยอม ไปแปลเป็นภาษาอังกฤษ
1.3 นำหนังสือยินยอม + คำแปลภาษาอังกฤษ มายื่นขอรับรองนิติกรณ์
ที่กองสัญชาติฯ กรมการกงสุล
1.4 เมื่อเอกสารได้รับการรับรองแล้ว สามารถนำไปให้สถานเอกอัครราชทูตต่างประเทศ
ที่เกี่ยวข้องที่ตั้งอยู่ในประเทศไทยรับรองอีกครั้ง
2. กรณี บิดา - มารดา ไม่ได้จดทะเบียนสมรสกัน
2.1 บิดา - มารดา อยู่ด้วยกัน และยินยอมให้บุตรไปต่างประเทศ ให้ดำเนินการ ดังนี้
- บิดา - มารดา ติดต่ออำเภอ / เขต เพื่อทำหนังสือยินยอม
- นำหนังสือยินยอม ไปแปลเป็นภาษาอังกฤษ
- นำหนังสือยินยอม + คำแปลภาษาอังกฤษ มายื่นขอรับรองนิติกรณ์
ที่กองสัญชาติฯ กรมการกงสุล
- เมื่อเอกสารได้รับการรับรองแล้ว สามารถนำไปให้สถานเอกอัครราชทูตต่างประเทศ
ที่เกี่ยวข้องที่ตั้งอยู่ในประเทศไทยรับรองอีกครั้ง
2.2 บิดา - มารดา แยกทางกัน และไม่สามารถติดต่อฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งได้ ให้ดำเนินการ ดังนี้
- ให้ บิดา หรือ มารดา ผู้ที่จะนำบุตรไปต่างประเทศ ติดต่ออำเภอ / เขต
เพื่อทำหนังสือรับรองอุปการะเลี้ยงดูบุตร ว่าบุตรอยู่ในความดูแลของใคร และผู้นั้น
เป็นผู้ลงนามในหนังสือยินยอมแต่เพียงผู้เดียว
- นำหนังสือยินยอม ไปแปลเป็นภาษาอังกฤษ
- นำหนังสือยินยอม + คำแปลภาษาอังกฤษ มายื่นขอรับรองนิติกรณ์
ที่กองสัญชาติฯ กรมการกงสุล
- เมื่อเอกสารได้รับการรับรองแล้ว สามารถนำไปให้สถานเอกอัครราชทูตต่างประเทศ
ที่เกี่ยวข้องที่ตั้งอยู่ในประเทศไทยรับรองอีกครั้ง
อ้างอิง : https://consular.mfa.go.th/th/publicservice/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B9%82%E0%B8%94%E0%B8%A2%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B9%86
เอกสารที่ต้องเตรียมเพื่อขอรับการนิติกรณ์
ประเภทของเอกสาร |
เอกสารที่ต้องเตรียม |
1. บัตรประจำตัวประชาชน บัตรข้าราชการ |
|
2. หนังสือสุทธิ |
|
3. ทะเบียนบ้าน* (ทร. 14 / ทร. 14/1) |
|
4. สูติบัตร* (ทร. 1, ทร. 1/1, ทร. 19/1, ทร. 19/4) |
|
5. มรณบัตร* (ทร. 1, ทร. 1/1 ทร. 19/1, ทร. 19/4) |
*หมายเหตุ - สามารถขอคัดฉบับภาษาอังกฤษ ได้จากสำนักงานเขต / ที่ว่าการอำเภอต่างๆ |
6. เอกสารมรณบัตร (ต่างประเทศ) |
|
7. หนังสือรับรองความเป็นโสด (เอกสารไทย) |
|
8. หนังสือรับรองความเป็นโสด (เอกสารต่างประเทศ) |
- หน้าการตรวจลงตรา (วีซ่า) - หน้าการอนุญาตให้พำนักในประเทศไทย - รับรองสำเนาถูกต้องในเอกสารทุกหน้า
หมายเหตุ - ชาวต่างด้าวต้องมีระยะเวลา อนุญาตให้พำนักในประเทศไทย เหลือไม่น้อยกว่า 10 วันทำการ |
9. ใบสำคัญการสมรส (คร. 3)* ทะเบียนการสมรส (คร. 2)* |
|
10. เอกสารการสมรส (ต่างประเทศ) |
|
11. หนังสือยินยอมให้บุตรเดินทางไปต่างประเทศ |
|
12. หนังสือรับรองการเกิด* |
|
13. ใบสำคัญการหย่า (คร. 7)* ทะเบียนการหย่า (คร. 6)* |
|
14. ทะเบียนฐานะแห่งครอบครัว* (คร. 22) บันทึกฐานะแห่งครอบครัว |
|
15. หนังสือสำคัญการเปลี่ยนชื่อสกุล* (ช.2) |
|
16. หนังสือสำคัญการเปลี่ยนชื่อตัว* (ช.3) |
|
17. หนังสือสำคัญการร่วมใช้ชื่อสกุล* (ช. 4) |
|
18. หนังสือสำคัญการจดทะเบียน* เปลี่ยนชื่อสกุล (ช. 5) |
|
19. ประกาศราชกิจจานุเบกษาเรื่องการแปลงสัญชาติ/สละสัญชาติ/ได้สัญชาติ/เสียสัญชาติ |
|
20. บันทึกการอุปการะบุตร (ปค. 14) |
|
21. หลักฐานทหาร |
|
22. เอกสารการศึกษา |
- ใบ transcript
|
23. ใบขับขี่ |
|
24. หนังสือเดินทาง |
|
25. หนังสือเดินทาง (ต่างประเทศ) |
|
26. โฉนดที่ดิน |
|
27. ใบแจ้งความ |
|
28. หนังสือรับรองบุตร |
|
29. ทะเบียนรับบุตรบุญธรรม* |
|
30. ทะเบียนยกเลิกรับบุตรบุญธรรม* |
|
31. คำสั่งศาล |
|
การมอบอำนาจในประเทศไทย : หนังสือมอบอำนาจ พร้อมติดอากรแสตมป์ 10 บาท
การมอบอำนาจจากต่างประเทศ :
การมอบอำนาจจากต่างประเทศ :
- คนไทยทำหนังสือมอบอำนาจผ่านสถานเอกอัครราชทูต/สถานกงสุลใหญ่ที่ได้รับมอบหมายในประเทศนั้น ๆ
- หนังสือมอบอำนาจของคนต่างด้าวต้องผ่านการรับรองจากหน่วยงานที่มีอำนาจของประเทศนั้นๆ และสถานเอกอัครราชทูต/สถานกงสุลใหญ่ของไทยในประเทศนั้น ๆ หรือที่ได้รับมอบหมาย
อ้างอิง : https://consular.mfa.go.th/th/publicservice/%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%95%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B9%8C
ตัวอย่างแบบฟอร์มเอกสารภาษาอังกฤษ
สูติบัตร |
|
ทะเบียนบ้าน |
|
บัตรประจำตัวประชาชน |
|
ข้อมูลส่วนบุคคลขณะขอมีบัตร |
|
หนังสือรับรองการใช้คำนำหน้านาม |
|
ทะเบียนฐานะแห่งครอบครัว |
|
แบบรับรองรายการทะเบียนราษฎร |
|
ใบสำคัญการสมรส |
|
ทะเบียนสมรส |
|
ทะเบียนหย่า |
|
ใบสำคัญการหย่า |
|
หนังสือสำคัญการจัดตั้งนามสกุล |
|
หนังสือสำคัญการเปลี่ยนชื่อ |
|
หนังสือสำคัญแสดงการจดทะเบียนเปลี่ยนชื่อ-สกุล |
|
มรณบัตร |
หมายเหตุ
- ตัวอย่างคำแปลแบบฟอร์มการทะเบียนราษฎร การทะเบียนครอบครัว คำแปลแบบฟอร์มอื่น ๆ การแปลเอกสารต้องแปลให้สอดคล้องกับข้อความที่ปรากฏในต้นฉบับเอกสารภาษาไทย
- ตัวอย่างการแปลนี้ใช้เป็นแนวทางในการแปลเท่านั้น
- ขอสงวนสิทธิ์สำหรับการตรวจแก้ใด ๆ โดยเจ้าหน้าที่
อ้างอิง : https://consular.mfa.go.th/th/publicservice/%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B8%A7%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B9%81%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%9F%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%B2%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%A4%E0%B8%A9
ตัวอย่างคำศัพท์ภาษาอังกฤษ
- จังหวัด อำเภอ กิ่งอำเภอ ตำบล เขตและแขวง (ไทย/อังกฤษ) / ราชบัณฑิตยสถาน
- ยศทหารบก ทหารเรือ และทหารอากาศ (ไทย-อังกฤษ) / กองบัญชาการทหารสูงสุด
- ยศตำรวจ (ไทย-อังกฤษ) / สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
- ตำแหน่งทางการทูต (ไทย/อังกฤษ)
- หน่วยงานการศึกษา (ไทย-อังกฤษ) / กระทรวงศึกษาธิการ
- หน่วยงานปกครอง (ไทย-อังกฤษ) / กรมการปกครอง
- หน่วยงานสาธารณสุข โรคและสาเหตุการตายต่าง ๆ (ไทย-อังกฤษ)
- คำนำหน้านาม (ไทย-อังกฤษ)
- คำแปลปีเกิด (ปีนักษัตร)
- รายชื่อตำแหน่งข้าราชการตาม พ.ร.บ. ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551(ไทย-อังกฤษ) ตามสายงาน ประเภท และตำแหน่ง กำหนดใหม่โดย สนง.กพ.
อ้างอิง : https://consular.mfa.go.th/th/publicservice/111335-%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B8%A7%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%B3%E0%B8%A8%E0%B8%B1%E0%B8%9E%E0%B8%97%E0%B9%8C%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%B2%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%A4%E0%B8%A9
บทบาท หน้าที่งานสัญชาติและนิติกรณ์
ภาพรวม
• งานทะเบียนราษฎร
- การจดทะเบียนคนเกิด
- การจดทะเบียนคนตาย
• งานทะเบียนครอบครัว
- การจดทะเบียนสมรส
- การจดทะเบียนหย่า
- การจดทะเบียนรับรองบุตร
- การจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรม
- การจดทะเบียนเลิกรับบุตรบุญธรรม
• งานสัญชาติ
- การเข้าถือสัญชาติไทย
- การเสียสัญชาติไทย
- การขอกลับคืนสัญชาติไทย
• งานความร่วมมือทางศาล
• งานการโอนตัวนักโทษ
• งานรับรองเอกสาร
หน้าที่ตามกฎหมายภายไทย
1 ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 (ครอบครัว)
- กำหนดให้พนักงานทูตหรือกงสุลไทยเป็นผู้รับจดทะเบียนครอบครัว
2 พระราชบัญญัติการจดทะเบียนครอบครัว พ.ศ.2478
- กำหนดให้กระทรวงการต่างประเทศเป็นส่วนราชการเจ้าหน้าที่ ในการจดทะเบียนครอบครัวให้แก่คนไทย
3 พระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2534
- กำหนดให้กระทรวงการต่างประเทศเป็นส่วนราชการเจ้าหน้าที่ โดยมีพนักงานทูตและกงสุลไทย เป็นนายทะเบียนสำหรับจดทะเบียนคนเกิด และจดทะเบียนคนตายสำหรับคนไทยในต่างประเทศ
4 พระราชบัญญัติการรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรม พ.ศ. 2522
- กำหนดหน้าที่บางประการให้กระทรวงการต่างประเทศปฏิบัติในเรื่องเกี่ยวกับการรับบุตรที่มีบุญธรรมชาวต่างชาติเข้ามามีส่วนและจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรมในต่างประเทศงานการทะเบียนราษฎร และการทะเบียนครอบครัวตามที่กฎหมายกำหนดนี้เมื่อปฏิบัติในต่างประเทศแล้ว (โดย สอท.หรือ สกญ.) ต้องรายงานเข้ามายังกระทรวงการต่างประเทศเพื่อพิจารณาส่งต่อไปให้สำนักทะเบียนกลาง กระทรวงมหาดไทย รวบรวมข้อมูลไว้เป็นศูนย์รวมอีกต่อหนึ่ง
5 พระราชบัญญัติสัญชาติ พ.ศ.2508
- ประกาศกระทรวงมหาดไทย ลงวันที่ 15 พฤษภาคม 2510 แต่งตั้งให้พนักงานทูตหรือกงสุลไทยเป็น พนักงานทูต หรือ กงสุลไทยเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัติสัญชาติ พ.ศ.2508
6 พระราชบัญญัติการปฏิบัติเพื่อความร่วมมือระหว่างประเทศในการดำเนินการตามคำพิพากษาคดีอาญา พ.ศ. 2527
- กฏหมายฉบับนี้ได้กำหนดวิธีการให้ความร่วมมือระหว่างประเทศในการปฏิบัติตามคำพิพากษาคดีอาญา ซึ่งอาจเป็นทั้งตามคำพิพากษาของศาลไทยหรือของศาลต่างประเทศทุกเรื่องเมื่อติดต่อขอความร่วมมือ ซึ่งกันและกันจะต้องติดต่อผ่านกระทรวงการต่างประเทศเสมอ
7 ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา / ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
- การติดต่อขอความร่วมมือระหว่างศาลไทยกับศาลต่างประเทศในเรื่องทางอาญาและทางแพ่งเช่น การส่งคำคู่ความการสืบพยาน ฯลฯ
-ไม่ว่าจะเป็นการร้องขอจากฝ่ายใดจะต้องดำเนินการผ่านกระทรวงการต่างประเทศ หน้าที่ตามสนธิสัญญาและความตกลงระหว่างประเทศสนธิสัญญาว่าด้วยความร่วมมือในการบังคับให้เป็นไปตามคำพิพากษาคดีอาญา
- การติดต่อระหว่างประเทศไทยกับประเทศภาคี ไม่ว่าจะเป็นการร้องขอความร่วมมือจากฝ่ายใด จะต้องติดต่อผ่านกระทรวงการต่างประเทศ โดยกองสัญชาติและนิติกรณ์กรมการกงสุล สอท. / สกญ.เป็นผู้ปฏิบัติ ทั้งนี้ ได้มีพระราชบัญญัติการปฏิบัติเพื่อความร่วมมือระหว่างประเทศ ในการดำเนินการตามคำพิพากษาคดีอาญา พ.ศ.2527 รองรับอยู่
หน้าที่ด้านนิติกรณ์ (Legalization)
- นิติกรรมที่จัดทำขึ้นโดยเอกชน
https://consular.mfa.go.th/th/publicservice/111073-%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%97-%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B9%8C?page=5d68c88b15e39c160c008183
• งานทะเบียนราษฎร
- การจดทะเบียนคนเกิด
- การจดทะเบียนคนตาย
• งานทะเบียนครอบครัว
- การจดทะเบียนสมรส
- การจดทะเบียนหย่า
- การจดทะเบียนรับรองบุตร
- การจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรม
- การจดทะเบียนเลิกรับบุตรบุญธรรม
• งานสัญชาติ
- การเข้าถือสัญชาติไทย
- การเสียสัญชาติไทย
- การขอกลับคืนสัญชาติไทย
• งานความร่วมมือทางศาล
• งานการโอนตัวนักโทษ
• งานรับรองเอกสาร
หน้าที่ตามกฎหมายภายไทย
1 ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 (ครอบครัว)
- กำหนดให้พนักงานทูตหรือกงสุลไทยเป็นผู้รับจดทะเบียนครอบครัว
2 พระราชบัญญัติการจดทะเบียนครอบครัว พ.ศ.2478
- กำหนดให้กระทรวงการต่างประเทศเป็นส่วนราชการเจ้าหน้าที่ ในการจดทะเบียนครอบครัวให้แก่คนไทย
3 พระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2534
- กำหนดให้กระทรวงการต่างประเทศเป็นส่วนราชการเจ้าหน้าที่ โดยมีพนักงานทูตและกงสุลไทย เป็นนายทะเบียนสำหรับจดทะเบียนคนเกิด และจดทะเบียนคนตายสำหรับคนไทยในต่างประเทศ
4 พระราชบัญญัติการรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรม พ.ศ. 2522
- กำหนดหน้าที่บางประการให้กระทรวงการต่างประเทศปฏิบัติในเรื่องเกี่ยวกับการรับบุตรที่มีบุญธรรมชาวต่างชาติเข้ามามีส่วนและจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรมในต่างประเทศงานการทะเบียนราษฎร และการทะเบียนครอบครัวตามที่กฎหมายกำหนดนี้เมื่อปฏิบัติในต่างประเทศแล้ว (โดย สอท.หรือ สกญ.) ต้องรายงานเข้ามายังกระทรวงการต่างประเทศเพื่อพิจารณาส่งต่อไปให้สำนักทะเบียนกลาง กระทรวงมหาดไทย รวบรวมข้อมูลไว้เป็นศูนย์รวมอีกต่อหนึ่ง
5 พระราชบัญญัติสัญชาติ พ.ศ.2508
- ประกาศกระทรวงมหาดไทย ลงวันที่ 15 พฤษภาคม 2510 แต่งตั้งให้พนักงานทูตหรือกงสุลไทยเป็น พนักงานทูต หรือ กงสุลไทยเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัติสัญชาติ พ.ศ.2508
6 พระราชบัญญัติการปฏิบัติเพื่อความร่วมมือระหว่างประเทศในการดำเนินการตามคำพิพากษาคดีอาญา พ.ศ. 2527
- กฏหมายฉบับนี้ได้กำหนดวิธีการให้ความร่วมมือระหว่างประเทศในการปฏิบัติตามคำพิพากษาคดีอาญา ซึ่งอาจเป็นทั้งตามคำพิพากษาของศาลไทยหรือของศาลต่างประเทศทุกเรื่องเมื่อติดต่อขอความร่วมมือ ซึ่งกันและกันจะต้องติดต่อผ่านกระทรวงการต่างประเทศเสมอ
7 ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา / ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
- การติดต่อขอความร่วมมือระหว่างศาลไทยกับศาลต่างประเทศในเรื่องทางอาญาและทางแพ่งเช่น การส่งคำคู่ความการสืบพยาน ฯลฯ
-ไม่ว่าจะเป็นการร้องขอจากฝ่ายใดจะต้องดำเนินการผ่านกระทรวงการต่างประเทศ หน้าที่ตามสนธิสัญญาและความตกลงระหว่างประเทศสนธิสัญญาว่าด้วยความร่วมมือในการบังคับให้เป็นไปตามคำพิพากษาคดีอาญา
- การติดต่อระหว่างประเทศไทยกับประเทศภาคี ไม่ว่าจะเป็นการร้องขอความร่วมมือจากฝ่ายใด จะต้องติดต่อผ่านกระทรวงการต่างประเทศ โดยกองสัญชาติและนิติกรณ์กรมการกงสุล สอท. / สกญ.เป็นผู้ปฏิบัติ ทั้งนี้ ได้มีพระราชบัญญัติการปฏิบัติเพื่อความร่วมมือระหว่างประเทศ ในการดำเนินการตามคำพิพากษาคดีอาญา พ.ศ.2527 รองรับอยู่
หน้าที่ด้านนิติกรณ์ (Legalization)
- สำหรับงานด้านนิติกรณ์ (Legalization) ยังไม่มีกฎหมายภายในรองรับ หรือกำหนดวิธีการปฏิบัติไว้แต่เป็นการทำตามหลักปฏิบัติระหว่างประเทศเช่นกัน
- การรับรองนิติกรณ์ คือ การที่เจ้าพนักงานตามกฎหมายลงลายมือชื่อและตราประทับในตำแหน่งหน้าที่รับรองความถูกต้องตามกฎหมายของเอกสารต่าง ๆ ได้แก่
- นิติกรรมที่จัดทำขึ้นโดยเอกชน
- การรับรองเอกสารเป็นระบบสากลที่กระทรวงการต่างประเทศไม่ได้กำหนดขี้นแต่เป็นประเพณีที่นานาชาติ ปฏิบัติระหว่างกัน
- กองสัญชาติฯ เป็นหน่วยประสานงานเบื้องต้น / เป็นตัวกลางประสานกับสถานเอกอัครราชทูตและ สถานกงสุลไทยในต่างประเทศ กระทรวงมหาดไทย กรมการปกครองสำนักงานตำรวจแห่งชาติ กรมราชทัณฑ์ กระทรวงยุติธรรม สำนักอัยการสูงสุด และกับสอท.หรือ สกญ. ต่างประเทศในประเทศไทยด้วย
- ปัจจุบันคนไทยได้เดินทางไปติดต่อ/หรือไปทำงานที่มีถิ่นฐานอยู่ในต่างประเทศจำนวนมากขึ้นงานทะเบียนราษฎร และทะเบียนครอบครัวจึงเพิ่มขึ้น
- การติดต่อทางการค้าและเศรษฐกิจกับต่างประเทศมีมากขึ้น การรับรองเอกสารการพาณิชย์จึงมีปริมาณที่เพิ่มมากขึ้นและอาจเกิดกรณีโตแย้งสิทธิหรือการเป็นความฟ้องร้องกันมากขึ้น
- ปัจจุบัน กระทรวงการต่างประเทศเร่งพัฒนางานด้านสัญชาติ การทะเบียน และการรับรองนิติกรณ์เอกสารให้มีมาตรฐานมีประสิทธิภาพและความถูกต้องของเอกสาร รวมถึงพัฒนาการให้บริการ เพื่อรักษาผลประโยชน์สาธารณะและคุณภาพชีวิตของประชาชน พร้อมทั้งภาพลักษณ์ที่ดีของประเทศโดยรวม
https://consular.mfa.go.th/th/publicservice/111073-%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%97-%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B9%8C?page=5d68c88b15e39c160c008183
ระเบียบกรมการกงสุล เรื่องการรับรองนิติกรณ์เอกสาร
เอกสารประกอบ

services-20161030-171132-683232.pdf | |
File Size: | 104 kb |
File Type: |
ความร่วมมือทางกระบวนการยุติธรรม
ความร่วมมือทางแพ่ง
เจ้าหน้าที่ในกระบวนการทางกฎหมายของแต่ละประเทศ เช่น ศาล ตำรวจ อัยการ มีอำนาจเพียงภายในประเทศ ในกรณีที่ต้องดำเนินกระบวนการพิจารณาในต่างประเทศ จะต้องร้องขอเพื่ออาศัยอำนาจหน่วยงานของประเทศนั้น ๆ ดำเนินการแทน จะกระทำเองโดยตรงไม่ได้ เช่น การส่งประเด็นไปสอบสวนสืบพยานบุคคล พยานเอกสาร พยานวัตถุ ในต่างประเทศ การส่งคำฟ้อง หมายเรียก ฯลฯ หนังสือร้องขอต้องส่งโดยวิถีทางการทูต และต้องระบุว่าจะให้ความช่วยเหลือตามหลักปฏิบัติต่างตอบแทนในทำนองเดียวกันเมื่อถูกร้องขอ แต่หากประเทศไทยมีความตกลงว่าด้วยร่วมมือทางแพ่งหรือทางอาญากับประเทศใดไว้ การดำเนินความร่วมมือก็ให้เป็นไปตามความตกลงนั้น ๆ
ความร่วมมือทางแพ่ง
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 34 ให้อำนาจศาลไว้ว่า "ถ้าจะต้องดำเนินกระบวนการพิจารณาทั้งเรื่อง หรือแต่บางส่วนโดยอาศัยหรือโดยร้องขอต่อเจ้าหน้าที่ในเมืองต่างประเทศเมื่อไม่มีข้อตกลงระหว่างประเทศ หรือไม่มีข้อกฎหมายบัญญัติไว้สำหรับเรื่องนี้นั้นให้ศาลปฏิบัติตามหลักทั่วไปแห่งกฎหมายระหว่างประเทศ" ดั้งนั้น เมื่อกฎหมายไทยให้อำนาจศาลส่งเรื่องทางแพ่งขอความร่วมมือจากศาลต่างประเทศเพื่อดำเนินการแทน การดำเนินการของศาลต่างประเทศในเรื่องดังกล่าวย่อมมีผลเสมือนศาลไทยดำเนินการเอง ปัจจุบันประเทศไทยทำความตกลงว่าด้วยความร่วมมือทางศาล (Agreement on Judicial Co-Operation) ในคดีแพ่งกับ 6 ประเทศ คือ ลาว อินโดนีเซีย จีน ออสเตรเลีย สเปน เวียดนาม การดำเนินความร่วมมือก็จะต้องเป็นไปตามความตกลงดังกล่าว สำหรับประเทศอื่นๆ ที่ไทยไม่มีความตกลงในเรื่องนี้ ถ้าศาลไทยจำเป็นต้องดำเนินกระบวนการพิจารณาในต่างประเทศศาลไทยก็จะปฏิบัติตามกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง และหลักทั่วไปแห่งกฎหมายระหว่างประเทศดังกล่าวข้างต้น เท่าที่ผ่านมา ศาลไทยจะขอความช่วยเหลือจากศาลต่างประเทศในเรื่องต่อไปนี้ อาทิ การให้จำเลยซึ่งอยู่ในต่างประเทศทราบถึงการถูกฟ้องและวันนัด พิจารณา หรือการส่งสำเนาคำฟ้อง และหมายเรียกให้จำเลย การส่งประเด็นไปสืบพยานในต่างประเทศ การให้จำเลยซึ่งอยู่ในต่างประเทศทราบถึงการออกคำบังคับ ฯลฯ
วิธีการขอความร่วมมือให้ศาลต่างประเทศดำเนินกระบวนการพิจารณา
ในกรณีที่ไม่มีความตกลงร่วมมือทางแพ่งระหว่างไทยกับประเทศนั้นๆ การดำเนินการต้องผ่านช่องทางการฑูต (Diplomatic Channel) กล่าวคือ ในทางปฏิบัติเมื่อศาลไทยมีคำสั่งอนุญาตให้ขอความช่วยเหลือจากศาลต่างประเทศ ศาลจะส่งหนังสือร้องขอและเอกสารทั้งหมดพร้อมคำแปลเป็นภาษาอังกฤษหรือภาษาต่างประเทศไปยังกระทรวงยุติธรรมเพื่อขอให้กระทรวงยุติธรรมแจ้งกระทรวงการต่างประเทศจัดส่งให้สถานเอกอัครราชทูตหรือสถานกงสุลที่ตั้งอยู่ในประเทศนั้นๆ ดำเนินการต่อไป
เมื่อสถานทูต/สถานกงสุลได้รับหนังสือแจ้งจากกระทรวงการต่างประเทศในเรื่องดังกล่าว ให้สถานเอกอัครราชทูต/สถานกงสุลแจ้งกระทรวงการต่างประเทศนั้น เพื่อขอให้เจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจดำเนินการตามกฎหมายในประเทศนั้น เมื่อดำเนินการแล้วเสร็จ กระทรวงการต่างประเทศของประเทศนั้นจะแจ้งผลการดำเนินการให้สถานทูต/สถานกงสุลทราบ หากเป็นกรณีส่งสำเนาคำฟ้องหรือหมายเรียก ให้จำเลยหรือผู้รับลงชื่อในเอกสารตอบรับมาให้ เพื่อสถานทูตหรือสถานกงสุลแจ้งกระทรวงการต่างประเทศ พร้อมค่าใช่จ่าย
เอกสารที่ใช้สำหรับมอบหมายให้ศาลดำเนินการ
กระทรวงยุติธรรมแจ้งว่าตามข้อกำหนดทางกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ได้ระบุว่า การที่ศาลต่างประเทศร้องขอให้ศาลไทยดำเนินการพิจารณาโดยผ่านขั้นตอนทางการทูตนั้น หนังสือร้องขอควรมีข้อความประกอบด้วย
ทั้งนี้หนังสือร้องขอและเอกสารประกอบหนังสือร้องขอกระทรวงยุติธรรมต้องการใช้ต้นฉบับจำนวน 2 ชุด
วิธีการขอความร่วมมือให้ศาลต่างประเทศดำเนินกระบวนการพิจารณา
ในกรณีที่ไม่มีความตกลงร่วมมือทางแพ่งระหว่างไทยกับประเทศนั้นๆ การดำเนินการต้องผ่านช่องทางการฑูต (Diplomatic Channel) กล่าวคือ ในทางปฏิบัติเมื่อศาลไทยมีคำสั่งอนุญาตให้ขอความช่วยเหลือจากศาลต่างประเทศ ศาลจะส่งหนังสือร้องขอและเอกสารทั้งหมดพร้อมคำแปลเป็นภาษาอังกฤษหรือภาษาต่างประเทศไปยังกระทรวงยุติธรรมเพื่อขอให้กระทรวงยุติธรรมแจ้งกระทรวงการต่างประเทศจัดส่งให้สถานเอกอัครราชทูตหรือสถานกงสุลที่ตั้งอยู่ในประเทศนั้นๆ ดำเนินการต่อไป
เมื่อสถานทูต/สถานกงสุลได้รับหนังสือแจ้งจากกระทรวงการต่างประเทศในเรื่องดังกล่าว ให้สถานเอกอัครราชทูต/สถานกงสุลแจ้งกระทรวงการต่างประเทศนั้น เพื่อขอให้เจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจดำเนินการตามกฎหมายในประเทศนั้น เมื่อดำเนินการแล้วเสร็จ กระทรวงการต่างประเทศของประเทศนั้นจะแจ้งผลการดำเนินการให้สถานทูต/สถานกงสุลทราบ หากเป็นกรณีส่งสำเนาคำฟ้องหรือหมายเรียก ให้จำเลยหรือผู้รับลงชื่อในเอกสารตอบรับมาให้ เพื่อสถานทูตหรือสถานกงสุลแจ้งกระทรวงการต่างประเทศ พร้อมค่าใช่จ่าย
เอกสารที่ใช้สำหรับมอบหมายให้ศาลดำเนินการ
กระทรวงยุติธรรมแจ้งว่าตามข้อกำหนดทางกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ได้ระบุว่า การที่ศาลต่างประเทศร้องขอให้ศาลไทยดำเนินการพิจารณาโดยผ่านขั้นตอนทางการทูตนั้น หนังสือร้องขอควรมีข้อความประกอบด้วย
- ระบุให้รู้ว่าเป็นคดีแพ่ง
- ระบุให้รู้ว่าเป็นคดีอยู่ในระหว่างการพิจารณาของศาล
- มีความจำเป็นต้องสืบพยานหรือจะขอให้ศาลดำเนินการให้อย่างใดบ้าง
- ชื่อและที่อยู่ของจำเลย หรือพยาน ที่ขอให้ดำเนินการ
- ถ้ามีผู้แทนอยู่ในต่างประเทศให้ระบุชื่อ ที่อยู่หรือสำนักงานของผู้แทนนั้น
- แจ้งให้ทราบว่าจะจัดการอย่างใดกับเงินค่าใช้จ่ายและค่าธรรมเนียมศาล
- ระบุพันธะกรณีในการช่วยเหลือต่อศาลไทยในทำนองเดียวกัน
ทั้งนี้หนังสือร้องขอและเอกสารประกอบหนังสือร้องขอกระทรวงยุติธรรมต้องการใช้ต้นฉบับจำนวน 2 ชุด
ความร่วมมือทางอาญา
ประเทศไทยมีพระราชบัญญัติความร่วมมือระหว่างประเทศในเรื่องทางอาญา พ.ศ. 2535 เป็นกรอบในการดำเนินความร่วมมือทางอาญาระหว่างประเทศไทยกับต่างประเทศ พระราชบัญญัติฉบับนี้กำหนดให้สำนักงานอัยการสูงสุดเป็นผู้ประสานงานกลางซึ่งมีอำนาจในการพิจารณาขอและให้ความร่วมมือทางอาญาระหว่างไทยกับประเทศต่าง ๆ
ประเทศที่มีความตกลงหรือมีสนธิสัญญาความร่วมมือทางอาญา (Mutual Legal Assistance Treaty-MLAT) กับไทย 7 ประเทศ คือ
ประเทศไทยมีพระราชบัญญัติความร่วมมือระหว่างประเทศในเรื่องทางอาญา พ.ศ. 2535 เป็นกรอบในการดำเนินความร่วมมือทางอาญาระหว่างประเทศไทยกับต่างประเทศ พระราชบัญญัติฉบับนี้กำหนดให้สำนักงานอัยการสูงสุดเป็นผู้ประสานงานกลางซึ่งมีอำนาจในการพิจารณาขอและให้ความร่วมมือทางอาญาระหว่างไทยกับประเทศต่าง ๆ
ประเทศที่มีความตกลงหรือมีสนธิสัญญาความร่วมมือทางอาญา (Mutual Legal Assistance Treaty-MLAT) กับไทย 7 ประเทศ คือ
ประเทศมี ผลบังคับใช้
สหรัฐอเมริกา 10 มิถุนายน 2536
แคนาดา 3 ตุลาคม 2537
สหราชอาณาจักร 10 กันยายน 2540
ฝรั่งเศส มิถุนายน 2543
นอร์เวย์ 22 กันยายน 2543
สาธารณรัฐเกาหลี 6 เมษายน 2548
สาธารณรัฐประชาชนจีน 20 กุมภาพันธ์ 2548
สหรัฐอเมริกา 10 มิถุนายน 2536
แคนาดา 3 ตุลาคม 2537
สหราชอาณาจักร 10 กันยายน 2540
ฝรั่งเศส มิถุนายน 2543
นอร์เวย์ 22 กันยายน 2543
สาธารณรัฐเกาหลี 6 เมษายน 2548
สาธารณรัฐประชาชนจีน 20 กุมภาพันธ์ 2548
ความร่วมมือทางอาญาระหว่างประเทศกับประเทศทั้ง 7 นี้ สามารถดำเนินการระหว่างผู้ประสานงานกลางฝ่ายไทยกับผู้ประสานงานกลางหรือหน่วยงานที่มีอำนาจหน้าที่ของประเทศนั้นๆ ได้โดยตรง โดยไม่ต้องผ่านช่องทางการทูต แต่หากไม่มีความตกลงร่วมมือทางอาญาจะต้องดำเนินการผ่านช่องทางการฑูตของทั้งสองฝ่าย และระบุหลักการต่างตอบแทนในคำร้องขอความร่วมมือด้วยเสมอ
ปัจจุบันกองสัญชาติและนิติกรณ์ กรมการกงสุล กระทรวงการต่างประเทศเป็นหน่วยประสานระหว่างสถานเอกอัครราชทูต/สถานกงสุลต่างๆ กับสำนักงานอัยการสูงสุดในเรื่องเกี่ยวกับความร่วมมือทางอาญา และกับสำนักงานศาลยุติธรรมในเรื่องเกี่ยวกับความร่วมมือทางแพ่ง แต่หากประเทศนั้นๆ มีความตกลงร่วมมือทางแพ่งหรืออาญากับไทย การดำเนินความร่วมมือก็เป็นไปตามที่ระบุในความตกลงนั้น ๆ
ปัจจุบันกองสัญชาติและนิติกรณ์ กรมการกงสุล กระทรวงการต่างประเทศเป็นหน่วยประสานระหว่างสถานเอกอัครราชทูต/สถานกงสุลต่างๆ กับสำนักงานอัยการสูงสุดในเรื่องเกี่ยวกับความร่วมมือทางอาญา และกับสำนักงานศาลยุติธรรมในเรื่องเกี่ยวกับความร่วมมือทางแพ่ง แต่หากประเทศนั้นๆ มีความตกลงร่วมมือทางแพ่งหรืออาญากับไทย การดำเนินความร่วมมือก็เป็นไปตามที่ระบุในความตกลงนั้น ๆ
อ้างอิง : https://consular.mfa.go.th/th/publicservice/%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%A3%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%A1%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%A7%E0%B8%99%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%98%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1?page=5d68c88b15e39c160c008183
ประวัติกรมการกงสุล
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
ทรงสถาปนากระทรวงการต่างประเทศ
ทรงสถาปนากระทรวงการต่างประเทศ เมื่อวันที่ 14 เมษายน 2418
ทรงสถาปนากระทรวงการต่างประเทศ
ทรงสถาปนากระทรวงการต่างประเทศ เมื่อวันที่ 14 เมษายน 2418
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงสถาปนากระทรวงการต่างประเทศ เมื่อวันที่ 14 เมษายน พ.ศ. 2418 โดยทรงให้เจ้าพระยาภาณุวงศ์มหาโกษาธิบดี ดำรงตำแหน่งเสนาบดีกระทรวง การต่างประเทศคนแรก ระหว่าง ปี พ.ศ. 2418-2428
ในปี พ.ศ. 2428 สมเด็จกรมพระยาเทววงศ์วโรปการ ได้ขึ้นดำรงตำแหน่งเสนาบดีกระทรวง การต่างประเทศ โครงสร้างของกระทรวงการต่างประเทศได้รับการปรับปรุงให้ทันสมัยขึ้น โดยแรกเริ่ม ประกอบด้วยกอง จำนวน 5 กอง โดยกองการกงสุล เป็นหนึ่งหน่วยงานของกระทรวงการต่างประเทศ ในปี พ.ศ. 2435 มีการปรับปรุงโครงสร้างของกระทรวง การต่างประเทศ สถานะของกรมการกงสุล นับเป็นกองหนึ่งในกรมการเมือง และแม้ว่าจะมีการปรับโครงสร้างอีกใน พ.ศ. 2475 พ.ศ. 2503 และ พ.ศ. 2535 กิจการกงสุล ของกระทรวงการต่างประเทศ ได้ดำเนินไปโดยหลายหน่วยงานย่อยในกระทรวงการต่างประเทศ จนกระทั่ง พ.ศ. 2541 จึงได้มีการปรับโครงสร้างของกระทรวงการต่างประเทศอีกครั้ง โดยได้จัดตั้งกรมการกงสุล และรวบรวมหน่วยงานที่รับผิดชอบในกิจการกงสุลเข้าไว้ด้วยกัน เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ในด้านนี้ เป็นการเฉพาะ กรมการกงสุลได้มีพิธีเปิดอย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2542 โดย ฯพณฯ นายชวน หลีกภัย นายกรัฐมนตรี ได้ให้เกียรติเป็นประธานในพิธีฯ
นโยบาย
รัฐบาลได้ดำเนินนโยบายการทูตเพื่อประชาชน เพื่อให้นโยบายการต่างประเทศสามารถตอบสนอง ต่อความต้องการของพี่น้องประชาชนคนไทยได้เป็นรูปธรรม และสอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาลที่ต้องการ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการกำหนดนโยบายของรัฐบาลด้านต่างๆ ที่มีผลกระทบต่อการดำรงชีวิตประจำวัน ทั้งนี้ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายสูงสุดในการทำให้การต่างประเทศเป็นการต่างประเทศของประชาชนและเพื่อผลประโยชน์ของประชาชนอย่างแท้จริง อันจะเป็นการสนับสนุนกระบวนการพัฒนาประชาธิปไตย แบบมีส่วนร่วมภายในประเทศอีกทางหนึ่ง
วิสัยทัศน์
"องค์กรนำในการให้บริการด้านการกงสุลที่ทันสมัยและดีที่สุดเพื่อคนไทย"
"Digital Department of the Best & Smart Consular Services for Thai People"
พันธกิจ
- ประสานและอำนวยความสะดวกสถานทูต สถานกงสุลในการให้ความช่วยเหลือคนไทยตกทุกข์ได้ยากในต่างประเทศภายใน 24 ชั่วโมง
- ดำเนินมาตรการ/โครงการป้องกันปัญหาการค้ามนุษย์ทั้งในประเทศและนอกประเทศ
- จัดตั้งสำนักงานหนังสือเดินทาง ในส่วนภูมิภาคตามความเหมาะสมและจัดหน่วยหนังสือเดินทาง เคลื่อนที่ไปยังจังหวัดต่าง ๆ เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ห่างไกลได้รับบริการอย่างทั่วถึง
- ขยายงานบริการด้านการกงสุล ณ สำนักงานหนังสือเดินทางชั่วคราว ทั้งในกรุงเทพฯ และต่างจังหวัด ด้วยการเพิ่มงานบริการรับเรื่องส่งต่อในการให้ความช่วยเหลือคนไทยตกทุกข์ได้ยากในต่างประเทศ และงานบริการด้านนิติกรณ์
- นำนวัตกรรมการให้บริการด้านกงสุลเพื่อสร้างความพึงพอใจให้แก่ประชาชน
โครงสร้างภายในกรมการกงสุล
กรมการกงสุลแบ่งส่วนราชการออกเป็น 5 หน่วยงาน ดังนี้
- สำนักงานเลขานุการกรม
- กองคุ้มครองและดูแลผลประโยชน์คนไทยในต่างประเทศ
- กองสัญชาติและนิติกรณ์
- กองตรวจลงตราและเอกสารเดินทางคนต่างด้าว
- กองหนังสือเดินทาง
อ้างอิง : https://consular.mfa.go.th/th/page/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%81%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%A5?menu=5d68c88c15e39c160c00823c
หนังสือเดินทาง
กองหนังสือเดินทางโทรศัพท์ : 0 2981 7257 ถึง 60
และ 0 2203 5000 ต่อ 32303
E-mail : consular05@mfa.mail.go.th
และ 0 2203 5000 ต่อ 32303
E-mail : consular05@mfa.mail.go.th
จองคิวทำหนังสือเดินทางออนไลน์
สถานที่ให้บริการหนังสือเดินทาง
ที่อยู่ : 123 ถนนแจ้งวัฒนะ เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210 โทรศัพท์ : Call Center 02 572 8442 หรือ 02 203 5000 กด 1 เพื่อติดต่อกรมการกงสุล
ที่อยู่ : ศูนย์การค้าธัญญาพาร์ค ศรีนครินทร์ ชั้น 1 โซน C โทรศัพท์ : 02 136 3800, 02 136 3802 และ 093 -0105246 โทรสาร : 02 136 3801
ที่อยู่ : ศูนย์การค้าบิ๊กซี สาขาสุวินทวงศ์ 29 ถนนสุวินทวงศ์ แขวงมีนบุรี เขตมีนบุรี กทม. 10510 โทรศัพท์ : 02 024 8362-64 โทรสาร : 02 024 8361
ที่อยู่ : ศูนย์การค้าเอ็มบีเค เซ็นเตอร์ (MBK CENTER)ชั้น 5 โซน A ถนนพญาไท แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ โทรศัพท์ : 02 126 7612 โทรสาร : 02 126 7613
ที่อยู่ : ศูนย์ประชุมและแสดงสินค้านานาชาติเฉลิมพระเกียรติ 7 รอบพระชนมพรรษา (อาคาร SMEs2) เลขที่ 456 หมู่ 1 ถนนเลียบคลองชลประทาน ตำบลช้างเผือก อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ โทรศัพท์ : 053-112-2912 หรือ 088-874-0251 โทรสาร : 053-112-293
ที่อยู่ : ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา พิษณุโลก ชั้น G เลขที่ 9/99 หมู่ 5 ตำบลพลายชุมพล อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก โทรศัพท์ : 055-338-426 และ 055-338-427 โทรสาร : 055-338-428
ที่อยู่ : ศูนย์การค้าเซ็นทรัล พลาซา อุดรธานี ชั้น 3 ถนนประจักษ์ศิลปาคม ตำบลหมากแข้ง อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี โทรศัพท์ : 042-212-827, 042-212-318 และ 042-222-861 โทรสาร : 042 222-810
ที่อยู่ : อาคารศาลากลางจังหวัดอุบลราชธานี ชั้น 1 ด้านหลังผั่งทิศตะวันตก จังหวัดอุบลราชธานี 34000 โทรศัพท์ : 045 344 581 และ 045 344 582 โทรสาร : 045 344 646 E-mail : passport_ubon@hotmail.com http://www.facebook.com/ubonpassport
ที่อยู่ : อาคารลานค้าชุมชน ถ.เลียบเนิน ต.วัดใหม่ อ.เมือง จ.จันทบุรี 22000 โทรศัพท์ : 039-301-706-9 โทรสาร : 039-301-707
ที่อยู่ : ศูนย์การค้าเซ็นทรัล พลาซา เฟสติวัล ชั้น B ตำบลวิชิต อำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต โทรศัพท์ : 076-222-080, 076-222-081, 076-222-083 โทรสาร : 076-222-082
ที่อยู่ : ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้(ศอ.บต.) ถนนสุขยางค์ อำเภอเมือง จังหวัดยะลา 95000 โทรศัพท์ : 073-274-526, 073-274-036, 073-274-037 โทรสาร : 073-274-527
ที่อยู่ : โครงการบุรีรัมย์ คาสเซิล (Buriram Castle) เลขที่ 444/8 หมู่ 15 ตำบลอิสาณ อำเภอเมืองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์ โทรศัพท์ : 044-666-496 โทรสาร : 044-666-494
ที่อยู่ : สำนักงานออกหนังสือผ่านแดนชั้น 2 ศูนย์แสดงและจำหน่ายผลิตภัณฑ์ OTOP ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดหนองคาย โทรศัพท์ : 042-414-508 |
ที่อยู่ : ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา (อาคารบี ประตูฝั่งทิศตะวันออก) ชั้น 7 ถนนแจ้งวัฒนะ เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210 โทรศัพท์ : 02 203 5000 ต่อ 49007,49009,49010,49017
ที่อยู่ : อาคาร SC Plaza สถานีขนส่งกรุงเทพ (สายใต่ใหม่) ถนนบรมราชชนนี โทรศัพท์ : 02 422 3431 โทรสาร : 02 422 3432
โทรศัพท์ : 02-024-8896, 093-010-5247 โทรสาร : 02-024-8897
ที่อยู่ : ศูนย์การค้าฟิวเจอร์พาร์ค รังสิต ชั้น 3 ถนนพหลโยธิน ตำบลประชาธิปัตย์ อำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี
ที่อยู่ : ศูนย์การค้าเซ็นทรัล พลาซา เวสต์เกต ชั้น G ถนนรัตนาธิเบศร์ ตำบลเสาธงหิน อำเภอบางใหญ่ นนทบุรี
ที่อยู่ : อาคารองค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) หลังใหม่ ถนนศูนย์ราชการ ตำบลริมกก อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย โทรศัพท์ : 053-175-375 โทรสาร : 053-175-374
ที่อยู่ : ศูนย์บริการร่วมจังหวัดนครสวรรค์ ห้างสรรพสินค้าบิ๊กซี ชั้น 2 ถนนพหลโยธิน อำเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์ 60000 โทรศัพท์ : 056-370-800 และ 056-370-802 โทรสาร : 056-370-801
ที่อยู่ : ศาลากลางจังหวัดขอนแก่น (หลังเก่า) ชั้น 1 ถนนศูนย์ราชการ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น โทรศัพท์ : 043 242 655 และ 043 242 707 โทรสาร : 043 243 441
ที่อยู่ : ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา นครราชสีมา ชั้น 3 เลขที่ 990,998 ถนนมิตรภาพ-หนองคาย ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา โทรศัพท์ : 044 243 132, 044 243 133 โทรสาร : 044 243 134
ที่อยู่ : ห้างสหไทย การ์เด้นพลาซา ชั้น 3 ถนนตลาดใหม่ ตำบลตลาด อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี โทรศัพท์ : 077-274-940,077-274942 ถึง 3 โทรสาร : 077-274941
ที่อยู่ : ศูนย์ราชการจังหวัดสงขลา อำเภอเมือง จ.สงขลา 90000 โทรศัพท์ : 074-326-510 โทรสาร : 074-326511
ที่อยู่ : ศูนย์การค้าพัทยาอเวนิว ชั้น 1 ถนนพัทยาสาย 2 เลขที่ 399/9 หมู่ 10 ถนนพัทยาสาย 2 ตำบลหนองปรือ อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี 20150 โทรศัพท์ : 038-422438 โทรสาร : 038-422437
ที่อยู่ : ศูนย์การค้าเซ็นทรัล พลาซา ชั้น 3 หมู่ 7 ตำบลนาสาร อำเภอพระพรหม จังหวัดนครศรีธรรมราช โทรศัพท์ : 075-392-872 โทรสาร : 075-392-873
ที่อยู่ : ห้างสรรพสินค้าโรบินสัน เพชรบุรี ชั้น 2 เลขที่ 162 หมู่ 1 ตำบลสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี โทรศัพท์ : 032-491-827 โทรสาร : 032-491-828 |
อ้างอิง : https://consular.mfa.go.th/th/page/21037-%E0%B8%AA%E0%B8%96%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B9%83%E0%B8%AB%E0%B9%89%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%87
ค่าธรรมเนียมระยะเวลาการผลิตและจัดส่ง
การผลิตหนังสือเดินทาง
ความเร่งด่วน |
ค่าธรรมเนียม |
สถานที่ทำ |
สถานที่รับ |
ธรรมดา |
1,000 บาท |
ทุกสำนักงาน* |
ต่างจังหวัดจัดส่งไปรษณีย์ 5-7 วันทำการ |
ด่วนพิเศษ (รับเล่มในวันเดียวกัน) |
3,000 บาท |
ทุกสำนักงาน* (ก่อน 11.00 น.) |
(ก่อน 11.00 น.)กรมการกงสุล (14.30 - 16.30 น.) |
* ยกเว้นศูนย์บริการฯ ที่กระทรวงแรงงาน
การรับเล่มหนังสือเดินทางด้วยตนเอง
กรณี |
เอกสารประกอบ / การดำเนินการ |
กรณีมารับเล่มหนังสือเดินทางด้วยตนเอง |
1. ใบรับเล่มหนังสือเดินทางฉบับจริง 2. บัตรประจำตัวประชาชนฉบับจริง |
กรณีมอบอำนาจให้บุคคลอื่นมารับเล่มแทน |
1. สำเนาบัตรประจำตัวประชาชนของผู้มอบอำนาจพร้อมลงนามรับรองเอกสาร 2. บัตรประจำตัวประชาชนฉบับจริงของผู้รับมอบอำนาจ |
กรณีต้องแสดงเอกสารเพิ่มเติมในวันรับเล่ม |
แสดงเอกสารต้นฉบับ(ไม่รับพิจารณาสำเนาเอกสาร) |
กรณีหนังสือเดินทางเล่มเดิมยังไม่หมดอายุ |
ต้องนำหนังสือเดินทางฉบับเดิมไปยกเลิกในวันรับเล่ม หากสูญหาย ต้องนำใบแจ้งความ และแบบฟอร์มหนังสือเดินทางสูญหาย หรือถูกขโมย ที่กรอกข้อมูลครบถ้วนแล้วไปแสดง |
กรณีจัดส่งหนังสือเดินทางทางไปรษณีย์ |
ผู้ขอรับหนังสือเดินทางที่ชำระค่าส่งไปรษณีย์แล้วจะต้องมีผู้อยู่รอรับหนังสือเดินทาง ณ ที่อยู่ไปรษณีย์เท่านั้น มิฉะนั้น ท่านจะต้องติดต่อขอรับด้วยตนเอง ณ กรมการกงสุล กระทรวงการต่างประเทศ กรุงเทพฯ หรือต้องชำระค่าส่งใหม่ทางไปรษณีย์ |
การจัดส่งหนังสือเดินทางผ่านไปรษณีย์
รูปแบบการจัดส่ง |
ค่าธรรมเนียม |
ระยะเวลา |
หมายเหตุ |
ไปรษณีย์ EMS |
40 บาท |
ภายใน 5-7 วันทำการ |
ทุกสำนักงาน ยกเว้น MRT คลองเตย |
หมายเหตุ
อ้างอิง : https://consular.mfa.go.th/th/publicservice/%E0%B8%84%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%98%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%A1%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A2%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%A7%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9C%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%AA%E0%B9%88%E0%B8%87
- ไม่มีการคืนค่าธรรมเนียมหนังสือเดินทางใดๆ ซึ่งได้ชำระแล้ว
- ไม่สามารถรับหนังสือเดินทางก่อนกำหนดที่ได้ระบุไว้ในใบรับเล่มได้
- ระยะเวลาการจัดส่งนับจากวันที่ยื่นคำร้อง
- กองหนังสือเดินทางขอสงวนสิทธิ์การทำลายหนังสือเดินทาง หากไม่ติดต่อหรือรับเล่มตามกำหนดภายใน 90 วัน
อ้างอิง : https://consular.mfa.go.th/th/publicservice/%E0%B8%84%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%98%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%A1%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A2%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%A7%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9C%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%AA%E0%B9%88%E0%B8%87
บันทึกหนังสือเดินทาง (Endorsement)
วิวัฒนาการหนังสือเดินทาง
หนังสือเดินทางในสมัยโบราณ
ในสมัยโบราณการเดินทางไปต่างเมืองจำกัดขอบเขตอยู่กับดินแดนใกล้ชิด และโดยปกติเป็นการเดินทางของชนชั้นปกครอง ขุนนาง พ่อค้า และนักสอนศาสนา การเดินทางของกลุ่มบุคคลดังกล่าวส่วนใหญ่จะใช้หนังสือหรือสาส์นของกษัตริย์ หรือผู้ปกครองของรัฐตนไปถึงกษัตริย์ หรือผู้ปกครองของอีกรัฐหนึ่ง โดยระบุวัตถุประสงค์ของการเดินทางของคณะบุคคลของรัฐผู้ส่ง และขอให้รัฐผู้รับให้ความคุ้มครอง และอำนวยความสะดวกด้านต่างๆ ในกรณีของไทยมีหลักฐานคือพระราชสาส์นของสมเด็จพระนารายณ์มหาราชที่ทรงแต่งตั้งคณะราชทูตอัญเชิญพระราชสาส์นไปเจริญสัมพันธไมตรีกับฝรังเศส ซึ่งเป็นการส่งคณะราชทูตไปถึงประเทศทวีปยุโรปเป็นครั้งแรก การขอให้รัฐผู้รับให้ความคุ้มครองและอำนวยความสะดวกยังคงปรากฏในพระราชสาส์นตราตั้งเอกอัครราชทูตจนถึงปัจจุบัน และยังปรากฏในหนังสือเดินทางยุคปัจจุบันด้วย ซึ่งมีข้อความว่า “The Minister of Foreign Affairs Thailand hereby requests all whom it may concern to permit the citizen/national of Kingdom of Thailand herein to pass freely without delay or hindrance and to give all lawful aid and protection.”
ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเริ่มปรากฏหลักฐานที่ชัดเจนเกี่ยวกับการออกหนังสือเดินทางสำหรับคนไทย ที่กระทรวงมหาดไทยออกเป็นหนังสือราชการที่เขียนด้วยลายมือ เพื่อใช้สำหรับการเดินทางระหว่างเขต เมือง มณฑล หรือภายในพระราชอาณาเขต โดยระบุระยะเวลาในการใช้งาน วัตถุประสงค์ในการเดินทาง และมีความขอให้ข้าหลวงมณฑล ผู้ว่าราชการเมือง กรมการจังหวัด อำนวยความสะดวกในการเดินทาง
ในช่วงต้น ร.ศ.111 (2436) พระยาพิพัฒน์โกษา ข้าหลวงรักษาราชการหัวเมืองชายทะเลตะวันตก
ร่วมกับ พระยามหาโยธา และพระสุริยานุวัตร ดำริที่จะออกหนังสือเดินทางสำหรับประชาชนเพื่อใช้เดินทางไปต่างประเทศ และได้กำหนดรูปแบบหนังสือเดินทาง หลังจากนั้นสมเด็จพระเจ้าบรมวงค์เธอกรมพระยาเทววงศ์วโรปการ เสนาบดีกระทรวงการต่างประเทศทรงเห็นชอบและได้ทรงมีหนังสือลงวันที่ 6 พฤษภาคม ร.ศ.111 กราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเพื่อขอพระบรมราชานุญาตออกหนังสือเดินทางให้แก่คนไทย เพื่อเดินทางไปต่างประเทศ ซึ่งพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระสมมติอมรพันธ์ ราชเลขาธิการ ทรงมีหนังสือลงวันที่ 11 พฤษภาคม ร.ศ.111 ตอบว่า “มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ตรัสว่าชอบแล้ว แต่ในทิศอื่นๆ ควรจะมีเหมือนกัน และคำสั่งที่จะมีถึงกงซุลให้อนุเคราะห์ตามลักษณะที่ว่านั้น จะมีด้วยฤาไม่” ซึ่งถือเป็นจุดเริ่มต้นของการทำหนังสือเดินทางสำหรับการเดินทางไปต่างประเทศแก่คนไทย
ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเริ่มปรากฏหลักฐานที่ชัดเจนเกี่ยวกับการออกหนังสือเดินทางสำหรับคนไทย ที่กระทรวงมหาดไทยออกเป็นหนังสือราชการที่เขียนด้วยลายมือ เพื่อใช้สำหรับการเดินทางระหว่างเขต เมือง มณฑล หรือภายในพระราชอาณาเขต โดยระบุระยะเวลาในการใช้งาน วัตถุประสงค์ในการเดินทาง และมีความขอให้ข้าหลวงมณฑล ผู้ว่าราชการเมือง กรมการจังหวัด อำนวยความสะดวกในการเดินทาง
ในช่วงต้น ร.ศ.111 (2436) พระยาพิพัฒน์โกษา ข้าหลวงรักษาราชการหัวเมืองชายทะเลตะวันตก
ร่วมกับ พระยามหาโยธา และพระสุริยานุวัตร ดำริที่จะออกหนังสือเดินทางสำหรับประชาชนเพื่อใช้เดินทางไปต่างประเทศ และได้กำหนดรูปแบบหนังสือเดินทาง หลังจากนั้นสมเด็จพระเจ้าบรมวงค์เธอกรมพระยาเทววงศ์วโรปการ เสนาบดีกระทรวงการต่างประเทศทรงเห็นชอบและได้ทรงมีหนังสือลงวันที่ 6 พฤษภาคม ร.ศ.111 กราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเพื่อขอพระบรมราชานุญาตออกหนังสือเดินทางให้แก่คนไทย เพื่อเดินทางไปต่างประเทศ ซึ่งพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระสมมติอมรพันธ์ ราชเลขาธิการ ทรงมีหนังสือลงวันที่ 11 พฤษภาคม ร.ศ.111 ตอบว่า “มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ตรัสว่าชอบแล้ว แต่ในทิศอื่นๆ ควรจะมีเหมือนกัน และคำสั่งที่จะมีถึงกงซุลให้อนุเคราะห์ตามลักษณะที่ว่านั้น จะมีด้วยฤาไม่” ซึ่งถือเป็นจุดเริ่มต้นของการทำหนังสือเดินทางสำหรับการเดินทางไปต่างประเทศแก่คนไทย
อย่างไรก็ตาม ยังไม่มีการกำหนดกฎเกณฑ์ว่าการเดินทางออกนอกพระราชอาณาเขตของคนสยามต้องมีหนังสือเดินทาง ประชาชนจึงไม่ได้ยึดถืออย่างเคร่งครัดว่าหนังสือเดินทางเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับการเดินทาง เพราะยังไม่มีการตรวจตราการเดินทางเข้าออกประเทศอย่างเข้มงวด
หนังสือเดินทางที่เป็นรูปเล่ม
ในช่วงส่งครามโลกครั้งที่1 (2457-2461) รัฐบาลประเทศต่างๆ เริ่มมีการตรวจลงตราหนังสือเดินทางของคนต่างชาติอย่างเข้มงวด ทำให้ผู้เดินทางออกจากพระราชอาณาเขตของไทยชิ่งมิได้มีหนังสือเดินทางถูกกักไม่ให้เข้าประเทศ หรือถูกจับกุมในฐานะผู้หลบหนีเข้าเมือง หรือถูกส่งกลับประเทศไทย เพื่อแก้ไขความเดือนร้อน เมื่อวันที่ 17 กันยายน 2460 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่จึงได้กำหนดกฎเกณฑ์อย่างเป็นทางการเกี่ยวกับการออกหนังสือเดินทาง โดยการออก “ประกาศว่าด้วยผู้เดินทางออกไปนอกพระราชอาณาเขตให้มีหนังสือเดินทาง” และให้คนไทยที่จะเดินทางออกไปประเทศที่อยู่ห่างไกลต้องขอหนังสือเดินทางจากกระทรวงการต่างประเทศ และหากเดินทางไปประเทศใกล้เคียงติดต่อกับพระราชอาณาเขตต้องขอจากผู้ว่าราชการจังหวัด หรือสมุหเทศาภิบาลในมณฑลของตน
ปี พ.ศ.2463 องค์การสันนิบาตชาติได้จัดการประชุมที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส เพื่อหารือเกี่ยวกับการกำหนดรูปแบบหนังสือเดินทาง รัฐบาลไทยได้ส่งผู้แทนเข้าร่วมการประชุมและรับรองข้อมติดังกล่าว ต่อมาวันที่ 1 กรกฎาคม 2470 ประเทศไทยจึงได้ประกาศใช้พระราชบัญญัติคนเข้าเมืองฉบับแรก ทำให้เกิดกฎเกณฑ์และการปรับเปลี่ยนรูปแบบของหนังสือเดินทางเป็นลักษณะรูปเล่มตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา
หนังสือเดินทางที่ออกในช่วงนั้นมีปกแข็งสีดำหรือสีน้ำเงิน บนปกเขียนชื่อประเทศไทย และ Siam
มีตราครุฑอยู่ตรงกลาง ขนาดใหญ่กว่าที่ใช้ในปัจจุบัน ภายในประกอบด้วยรายการข้อมูลภาษาไทยและภาษาฝรั่งเศส ซึ่งเขียนด้วยมือ ติดรูปถ่ายผู้ถือหนังสือเดินทาง พร้อมลายมือชื่อ ประกอบด้วยหน้าหนังสือเดินทางจำนวน 32 หน้า ออกที่แผนกหนังสือเดินทาง กระทรวงการต่างประเทศ มีอายุใช้งาน 2 ปี และต่อได้อีกครั้งรวมเป็น 4 ปี โดยใช้เดินทางได้เฉพาะประเทศที่ระบุเท่านั้น แต่สามารถสลักชื่อประเทศเพิ่มได้ ค่าธรรมเนียม 6 บาท หนังสือเดินทางดังกล่าวใช้ต่อมาจนถึงกระทั้งปี พ.ศ.2520 จึงมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลของหนังสือเดินทางจากภาษาไทยกับภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาไทยกับภาษาอังกฤษ
หนังสือเดินทางที่เป็นรูปเล่ม
ในช่วงส่งครามโลกครั้งที่1 (2457-2461) รัฐบาลประเทศต่างๆ เริ่มมีการตรวจลงตราหนังสือเดินทางของคนต่างชาติอย่างเข้มงวด ทำให้ผู้เดินทางออกจากพระราชอาณาเขตของไทยชิ่งมิได้มีหนังสือเดินทางถูกกักไม่ให้เข้าประเทศ หรือถูกจับกุมในฐานะผู้หลบหนีเข้าเมือง หรือถูกส่งกลับประเทศไทย เพื่อแก้ไขความเดือนร้อน เมื่อวันที่ 17 กันยายน 2460 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่จึงได้กำหนดกฎเกณฑ์อย่างเป็นทางการเกี่ยวกับการออกหนังสือเดินทาง โดยการออก “ประกาศว่าด้วยผู้เดินทางออกไปนอกพระราชอาณาเขตให้มีหนังสือเดินทาง” และให้คนไทยที่จะเดินทางออกไปประเทศที่อยู่ห่างไกลต้องขอหนังสือเดินทางจากกระทรวงการต่างประเทศ และหากเดินทางไปประเทศใกล้เคียงติดต่อกับพระราชอาณาเขตต้องขอจากผู้ว่าราชการจังหวัด หรือสมุหเทศาภิบาลในมณฑลของตน
ปี พ.ศ.2463 องค์การสันนิบาตชาติได้จัดการประชุมที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส เพื่อหารือเกี่ยวกับการกำหนดรูปแบบหนังสือเดินทาง รัฐบาลไทยได้ส่งผู้แทนเข้าร่วมการประชุมและรับรองข้อมติดังกล่าว ต่อมาวันที่ 1 กรกฎาคม 2470 ประเทศไทยจึงได้ประกาศใช้พระราชบัญญัติคนเข้าเมืองฉบับแรก ทำให้เกิดกฎเกณฑ์และการปรับเปลี่ยนรูปแบบของหนังสือเดินทางเป็นลักษณะรูปเล่มตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา
หนังสือเดินทางที่ออกในช่วงนั้นมีปกแข็งสีดำหรือสีน้ำเงิน บนปกเขียนชื่อประเทศไทย และ Siam
มีตราครุฑอยู่ตรงกลาง ขนาดใหญ่กว่าที่ใช้ในปัจจุบัน ภายในประกอบด้วยรายการข้อมูลภาษาไทยและภาษาฝรั่งเศส ซึ่งเขียนด้วยมือ ติดรูปถ่ายผู้ถือหนังสือเดินทาง พร้อมลายมือชื่อ ประกอบด้วยหน้าหนังสือเดินทางจำนวน 32 หน้า ออกที่แผนกหนังสือเดินทาง กระทรวงการต่างประเทศ มีอายุใช้งาน 2 ปี และต่อได้อีกครั้งรวมเป็น 4 ปี โดยใช้เดินทางได้เฉพาะประเทศที่ระบุเท่านั้น แต่สามารถสลักชื่อประเทศเพิ่มได้ ค่าธรรมเนียม 6 บาท หนังสือเดินทางดังกล่าวใช้ต่อมาจนถึงกระทั้งปี พ.ศ.2520 จึงมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลของหนังสือเดินทางจากภาษาไทยกับภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาไทยกับภาษาอังกฤษ
หนังสือเดินทางระบบดิจิตอล
เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานขององค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ ในปี 2536 เริ่มมีการนำระบบ Digital Passport System มาใช้พิมพ์รูปผู้ถือหนังสือเดินทางลงในหนังสือเดินทางด้วยระบบดิจิตอลแทนการติดรูปถ่าย และให้ข้อมูลทั้งหมดอยู่ในแผ่นเดียว เพื่อให้สามารถอ่านได้ด้วยเครื่อง
ต่อมาในปี 2543 กระทรวงการต่างประเทศได้พัฒนาการนำเทคโนโลยีการถ่ายรูป การบันทึกข้อมูล และการพิมพ์ข้อมูลลงในเล่มโดยตรง รวมทั้งเชื่อมโยงข้อมูลทะเบียนราษฎร์ด้วยระบบคอมพิวเตอร์กับฐานข้อมูลของกระทรวงมหาดไทย เพื่อให้สามารถตรวจสอบสถานะของผู้ขอหนังสือเดินทางด้วยเลขประจำตัวประชาชน ซึ่งทำให้ลดเวลาการรับคำร้องและสามารถผลิตหนังสือเดินทางได้ภายใน 3 วันทำการ
ในปี 2545 กระทรวงการต่างประเทศเพิ่มคุณลักษณะที่สามารถป้องกันการปลอมแปลง (security features) อาทิ การใช้สารเคมีที่ไม่มีในตลาดในการใส่เครื่องหมายที่ต้องใช้เครื่องเฉพาะในการตรวจสอบ การพิมพ์ลวดลายด้วยหมึกที่มองเห็นภายใต้แสงอุลตร้าไวโอเลตแบบ rainbow effect และใช้เทคโนโลยีการพิมพ์ระดับเดียวกับการพิมพ์ธนบัตร
หนังสือเดินทางอิเล็กทรอนิกส์
เหตุการณ์ก่อการร้ายที่สหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 11 กันยายน 2545 แสดงให้เป็นถึงจุดบกพร่องของระบบตรวจสอบบุคคล ซึ่งทำให้องค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศและประเทศต่างๆ โดยเฉพาะสหรัฐอเมริกาพยายามหามาตราการสกัดกั้นการก่อการร้ายระหว่างประเทศโดยการนำระบบการบรรจุข้อมูลชีวมาตร (Biometric Technology Data อาทิ การจำหน้าตา ลายนิ้วมือ ม่ายตา) กำหนดเป็นมาตรฐานของหนังสือเดินทางอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งทำให้ปลอมแปลงยากและตรวจสอบตัวบุคคลได้แม่นยำ
ในการหารือระหว่างนายกรัฐมนตรีไทยกับนายกรัฐมนตรีมาเลเซียที่เกาะลังกาวี ระหว่างวันที่ 2-28 กรกฎาคม 2546 ได้มีการหยิบยกประเด็นเรื่องหนังสือเดินทางขึ้นหารือด้วย หลังจากนั้นคณะรัฐมนตรีจึงได้มีมติเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม 2546 และวันที่ 2 ธันวาคม 2546 เห็นชอบให้กระทรวงการต่างประเทศร่วมกับกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารปรับปรุงหนังสือเดินทางให้ทันสมัยตามมาตรฐานขององค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ
กระทรวงการต่างประเทศเริ่มให้บริการหนังสือเดินทางอิเล็กทรอนิกส์ตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม 2548 หนังสือเดินทางอิเล็กทรอนิกส์ของไทยเป็นไปตามมาตรฐานขององค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ คือมีความกว้าง 88 มม. ความสูง 128 มม. ปัจจุบันมีอายุการใช้งาน 5 ปี ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงข้อมูลในเล่ม และไม่สามารถต่ออายุการใช้งาน
วัสดุที่ใช้ประกอบด้วยกระดาษที่เป็น security paper พิเศษ เนื้อกระดาษมีเส้นใยที่มองเห็นได้ด้วยตาเปล่าและมองไม่เห็นด้วยตาเปล่า และมีลวดลายที่มองไม่เห็นกระจายอยู่ทั่วแผ่น แผ่นข้อมูลเป็นพลาสติก polycarbonate เพื่อใช้การพิมพ์ด้วยเลเซอร์ และมีการพิมพ์ลวดลายแฝงบนหน้าข้อมูล สำหรับข้อมูลชีวมาตร มีการเก็บรูปใบหน้าและลายนิ้วมือลงใน microchip ซึ่งเป็นแบบ contactless IC
การนำหนังสือเดินทางอิเล็กทรอนิกส์มาใช่ช่วยอำนวยความสะดวกแก่ผู้ถือหนังสือเดินทางในการผ่านด่านตรวจคนเข้าเมือง โดยทำให้สามารถใช้ระบบ automatic gate ในการเดินทางเข้า-ออกนอกประเทศไทย และใช้ยืนยันตัวบุคคลได้อย่างถูกต้อง
เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานขององค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ ในปี 2536 เริ่มมีการนำระบบ Digital Passport System มาใช้พิมพ์รูปผู้ถือหนังสือเดินทางลงในหนังสือเดินทางด้วยระบบดิจิตอลแทนการติดรูปถ่าย และให้ข้อมูลทั้งหมดอยู่ในแผ่นเดียว เพื่อให้สามารถอ่านได้ด้วยเครื่อง
ต่อมาในปี 2543 กระทรวงการต่างประเทศได้พัฒนาการนำเทคโนโลยีการถ่ายรูป การบันทึกข้อมูล และการพิมพ์ข้อมูลลงในเล่มโดยตรง รวมทั้งเชื่อมโยงข้อมูลทะเบียนราษฎร์ด้วยระบบคอมพิวเตอร์กับฐานข้อมูลของกระทรวงมหาดไทย เพื่อให้สามารถตรวจสอบสถานะของผู้ขอหนังสือเดินทางด้วยเลขประจำตัวประชาชน ซึ่งทำให้ลดเวลาการรับคำร้องและสามารถผลิตหนังสือเดินทางได้ภายใน 3 วันทำการ
ในปี 2545 กระทรวงการต่างประเทศเพิ่มคุณลักษณะที่สามารถป้องกันการปลอมแปลง (security features) อาทิ การใช้สารเคมีที่ไม่มีในตลาดในการใส่เครื่องหมายที่ต้องใช้เครื่องเฉพาะในการตรวจสอบ การพิมพ์ลวดลายด้วยหมึกที่มองเห็นภายใต้แสงอุลตร้าไวโอเลตแบบ rainbow effect และใช้เทคโนโลยีการพิมพ์ระดับเดียวกับการพิมพ์ธนบัตร
หนังสือเดินทางอิเล็กทรอนิกส์
เหตุการณ์ก่อการร้ายที่สหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 11 กันยายน 2545 แสดงให้เป็นถึงจุดบกพร่องของระบบตรวจสอบบุคคล ซึ่งทำให้องค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศและประเทศต่างๆ โดยเฉพาะสหรัฐอเมริกาพยายามหามาตราการสกัดกั้นการก่อการร้ายระหว่างประเทศโดยการนำระบบการบรรจุข้อมูลชีวมาตร (Biometric Technology Data อาทิ การจำหน้าตา ลายนิ้วมือ ม่ายตา) กำหนดเป็นมาตรฐานของหนังสือเดินทางอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งทำให้ปลอมแปลงยากและตรวจสอบตัวบุคคลได้แม่นยำ
ในการหารือระหว่างนายกรัฐมนตรีไทยกับนายกรัฐมนตรีมาเลเซียที่เกาะลังกาวี ระหว่างวันที่ 2-28 กรกฎาคม 2546 ได้มีการหยิบยกประเด็นเรื่องหนังสือเดินทางขึ้นหารือด้วย หลังจากนั้นคณะรัฐมนตรีจึงได้มีมติเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม 2546 และวันที่ 2 ธันวาคม 2546 เห็นชอบให้กระทรวงการต่างประเทศร่วมกับกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารปรับปรุงหนังสือเดินทางให้ทันสมัยตามมาตรฐานขององค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ
กระทรวงการต่างประเทศเริ่มให้บริการหนังสือเดินทางอิเล็กทรอนิกส์ตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม 2548 หนังสือเดินทางอิเล็กทรอนิกส์ของไทยเป็นไปตามมาตรฐานขององค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ คือมีความกว้าง 88 มม. ความสูง 128 มม. ปัจจุบันมีอายุการใช้งาน 5 ปี ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงข้อมูลในเล่ม และไม่สามารถต่ออายุการใช้งาน
วัสดุที่ใช้ประกอบด้วยกระดาษที่เป็น security paper พิเศษ เนื้อกระดาษมีเส้นใยที่มองเห็นได้ด้วยตาเปล่าและมองไม่เห็นด้วยตาเปล่า และมีลวดลายที่มองไม่เห็นกระจายอยู่ทั่วแผ่น แผ่นข้อมูลเป็นพลาสติก polycarbonate เพื่อใช้การพิมพ์ด้วยเลเซอร์ และมีการพิมพ์ลวดลายแฝงบนหน้าข้อมูล สำหรับข้อมูลชีวมาตร มีการเก็บรูปใบหน้าและลายนิ้วมือลงใน microchip ซึ่งเป็นแบบ contactless IC
การนำหนังสือเดินทางอิเล็กทรอนิกส์มาใช่ช่วยอำนวยความสะดวกแก่ผู้ถือหนังสือเดินทางในการผ่านด่านตรวจคนเข้าเมือง โดยทำให้สามารถใช้ระบบ automatic gate ในการเดินทางเข้า-ออกนอกประเทศไทย และใช้ยืนยันตัวบุคคลได้อย่างถูกต้อง
กระทรวงการต่างประเทศยังคงมุ่งมั่นที่จะเพิ่มประสิทธิภาพในการให้บริการแก่ประชาชนในทุกด้าน และจะพยายามปรับปรุงระบบการให้บริการหนังสือเดินทางให้มีความสะดวก รวดเร็ว และเข้าถึงประชาชนในทุกพื้นที่
อ้างอิง : https://consular.mfa.go.th/th/publicservice/%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%92%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%87
อ้างอิง : https://consular.mfa.go.th/th/publicservice/%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%92%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%87
ช่องทางติดต่อ
กรมการกงสุล แจ้งวัฒนะ
ที่อยู่ 123 ถนนแจ้งวัฒนะ เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210
โทรศัพท์ 02 203 5000 กด 1 เพื่อติดต่อกรมการกงสุล
หรือ CALL CENTER หมายเลข 02 572 8442
Facebook : www.facebook.com/ThaiConsular
ศูนย์ดำเนินการเรื่องร้องทุกข์ของกระทรวงการต่างประเทศ
E-mail : consular.complaint@mfa.mail.go.th
สำนักงานเลขานุการกรม
โทรศัพท์ 0 2575 1034 โทรสาร 0 2575 1038
E-mail : consular01.mfa.mail.go.th
ศูนย์บริหารข้อมูลการกงสุลและสารสนเทศ (ICT Center)
โทรศัพท์ 0 2981 7241
กองคุ้มครองและดูแลผลประโยชน์คนไทยในต่างประเทศ
โทรศัพท์ 0 2575 1047 ถึง 51 โทรสาร 0 2575 1052
E-mail : consular02@mfa.mail.go.th
กองตรวจลงตราและเอกสารเดินทางคนต่างด้าว
โทรศัพท์ 0 2575 1062 ถึง 4 โทรสาร 0 2575 1066
E-mail : consular03@mfa.mail.go.th,thaivisa@mfa.mail.go.th
กองสัญชาติและนิติกรณ์
โทรศัพท์ 0 2575 1058 โทรสาร 0 2575 1054
E-mail : consular04@mfa.mail.go.th
กองหนังสือเดินทาง
โทรศัพท์ 0 2981 7257 ถึง 60 และ 0 2203 5000 ต่อ 32303
ฝ่ายอำนวยการ 0 2981 7257 โทรสาร 0 2981 7256
E-mail : consular05@mfa.mail.go.th
ที่อยู่ 123 ถนนแจ้งวัฒนะ เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210
โทรศัพท์ 02 203 5000 กด 1 เพื่อติดต่อกรมการกงสุล
หรือ CALL CENTER หมายเลข 02 572 8442
Facebook : www.facebook.com/ThaiConsular
ศูนย์ดำเนินการเรื่องร้องทุกข์ของกระทรวงการต่างประเทศ
E-mail : consular.complaint@mfa.mail.go.th
สำนักงานเลขานุการกรม
โทรศัพท์ 0 2575 1034 โทรสาร 0 2575 1038
E-mail : consular01.mfa.mail.go.th
ศูนย์บริหารข้อมูลการกงสุลและสารสนเทศ (ICT Center)
โทรศัพท์ 0 2981 7241
กองคุ้มครองและดูแลผลประโยชน์คนไทยในต่างประเทศ
โทรศัพท์ 0 2575 1047 ถึง 51 โทรสาร 0 2575 1052
E-mail : consular02@mfa.mail.go.th
กองตรวจลงตราและเอกสารเดินทางคนต่างด้าว
โทรศัพท์ 0 2575 1062 ถึง 4 โทรสาร 0 2575 1066
E-mail : consular03@mfa.mail.go.th,thaivisa@mfa.mail.go.th
กองสัญชาติและนิติกรณ์
โทรศัพท์ 0 2575 1058 โทรสาร 0 2575 1054
E-mail : consular04@mfa.mail.go.th
กองหนังสือเดินทาง
โทรศัพท์ 0 2981 7257 ถึง 60 และ 0 2203 5000 ต่อ 32303
ฝ่ายอำนวยการ 0 2981 7257 โทรสาร 0 2981 7256
E-mail : consular05@mfa.mail.go.th
อ้างอิง : https://consular.mfa.go.th/th/page/%E0%B8%8A%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B8%95%E0%B9%88%E0%B8%AD?menu=5ddcfc92edcd213f635d9492
แบบฟอร์มช่วยเหลือคนไทยในต่างประเทศ
การขอความช่วยเหลือคนไทยในต่างประเทศทางอินเตอร์เน็ต กรณีที่ท่านมีญาติพี่น้องประสบปัญหาตกทุกข์ได้ยาก ในต่างประเทศ และไม่สามารถช่วยเหลือตัวเอง เช่น ถูกหลอกลวง สูญหาย เจ็บป่วย เสียชีวิต ต้องการให้กระทรวงการต่างประเทศช่วยเหลือ ขอให้ท่านกรอกข้อมูลและกดปุ่มตกลงท้ายคำร้อง ทั้งนี้โปรดกรอกข้อมูลให้ครบถ้วนตามความเป็นจริง เพื่อประโยชน์ในการให้ความช่วยเหลือโดยกระทรวงการต่างประเทศจะใช้ข้อมูลดังกล่าวในทางราชการเท่านั้น
อ้างอิง : https://consular.mfa.go.th/th/publicform-form/%E0%B9%81%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%9F%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%A1%E0%B8%8A%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%84%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8
ขั้นตอนการช่วยเหลือคนไทยตกทุกข์ในต่างประเทศ
อ้างอิง : https://image.mfa.go.th/mfa/0/zE6021nSnu/%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%8A%E0%B8%99/%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B8%84%E0%B8%B8%E0%B9%89%E0%B8%A1%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%94%E0%B8%B9%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%9C%E0%B8%A5%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%82%E0%B8%A2%E0%B8%8A%E0%B8%99%E0%B9%8C%E0%B8%84%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8.jpg
10 เรื่องที่ต้องรู้ก่อนเดินทางไปเมืองนอก
อ้างอิง : https://consular.mfa.go.th/th/publicservice/10-%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%95%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B8%81%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B9%84%E0%B8%9B%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%81?page=5d68c88b15e39c160c008186&menu=5d68c88d15e39c160c00825f
ตรวจลงตรา และเอกสารเดินทางคนต่างด้าว
กองตรวจลงตราและเอกสารเดินทางคนต่างด้าว
โทรศัพท์ : 0 2575 1062 ถึง 4
โทรสาร : 0 2575 1066
E-mail : consular03@mfa.mail.go.th
โทรศัพท์ : 0 2575 1062 ถึง 4
โทรสาร : 0 2575 1066
E-mail : consular03@mfa.mail.go.th
รับรองเอกสาร NAATI เพื่อนำไปใช้ทำธุรกรรมต่างๆที่ประเทศออสเตรเลีย
ศูนย์แปลภาษา i Translation Services ให้บริการ รับแปลเอกสาร NAATI
และรับรองเอกสาร NAATI เพื่อนำไปใช้ทำธุรกรรมต่างๆที่ประเทศออสเตรเลีย
และรับรองเอกสาร NAATI เพื่อนำไปใช้ทำธุรกรรมต่างๆที่ประเทศออสเตรเลีย
การรับรองเอกสาร Naati คืออะไร การรับรองเอกสาร National Accreditation Authority for Translators and Interpreters Ltd. หรือ Naati คือการรับรองเอกสารรูปแบบหนึ่ง ที่จะนิยมแปลและรับรองกันเพื่อนำไปใช้ที่ประเทศออสเตรเลีย โดยองค์กร Naati ของประเทศออสเตรเลีย จะจัดสอบเพื่อออก license ให้ผู้แปล ในประเทศต่างๆ รวมถึงประเทศไทยด้วย
บริการ แปลเอกสาร NAATI
ในอดีตลูกค้าจำนวนไม่น้อย ที่ต้องการแปลเอกสาร NAATI จะต้องไปติดต่อกับนักแปล NAATI ที่ต่างประเทศ เพื่อขอใ้ช้บริการ ซึ่งข้อเสีย แน่นอนก็คือ ค่าใช้จ่ายสูง ติดต่อยาก และเสียเวลานาน บริษัท แปลเอกสาร ทราบถึงความไม่สะดวกสบายของลูกค้าในจุดนี้ดี จึงจัดการให้มีตราประทับรับรอง Naati ขึ้นมา เพื่อให้ลูกค้าได้ใ้ช้บริการอย่างสะดวก สบาย และ ที่สำคัญ ประหยัดกว่า
ลูกค้าประเภทใด ที่ติดต่อเพื่อขอรับบริการ รับรองเอกสาร NAATI กับเราได้บ้าง
ลูกค้าทั้งในและต่างประเทศสามารถ ติดต่อเพื่อขอรับบริการแปลเอกสาร NAATI กับเราได้ เพราะ ตราประทับเป็นที่ยอมรับ รับรองได้ทั่วโลกอยู่แล้ว อยู่ที่ใด ก็ใช้บริการได้เหมือนกัน
“ในปัจจุบัน มีลูกค้าจากต่างประเทศติดต่อเราเข้ามาตลอด เพราะการจ้างแปล NAATI ในประเทศไทยนั้น จะมีราคาถูกกว่า และเรามีบริการ ที่สะดวกสบาย จัดส่งเอกสารไปให้ท่านที่ต่างประเทศได้”
บริการ แปลเอกสาร NAATI
ในอดีตลูกค้าจำนวนไม่น้อย ที่ต้องการแปลเอกสาร NAATI จะต้องไปติดต่อกับนักแปล NAATI ที่ต่างประเทศ เพื่อขอใ้ช้บริการ ซึ่งข้อเสีย แน่นอนก็คือ ค่าใช้จ่ายสูง ติดต่อยาก และเสียเวลานาน บริษัท แปลเอกสาร ทราบถึงความไม่สะดวกสบายของลูกค้าในจุดนี้ดี จึงจัดการให้มีตราประทับรับรอง Naati ขึ้นมา เพื่อให้ลูกค้าได้ใ้ช้บริการอย่างสะดวก สบาย และ ที่สำคัญ ประหยัดกว่า
ลูกค้าประเภทใด ที่ติดต่อเพื่อขอรับบริการ รับรองเอกสาร NAATI กับเราได้บ้าง
ลูกค้าทั้งในและต่างประเทศสามารถ ติดต่อเพื่อขอรับบริการแปลเอกสาร NAATI กับเราได้ เพราะ ตราประทับเป็นที่ยอมรับ รับรองได้ทั่วโลกอยู่แล้ว อยู่ที่ใด ก็ใช้บริการได้เหมือนกัน
“ในปัจจุบัน มีลูกค้าจากต่างประเทศติดต่อเราเข้ามาตลอด เพราะการจ้างแปล NAATI ในประเทศไทยนั้น จะมีราคาถูกกว่า และเรามีบริการ ที่สะดวกสบาย จัดส่งเอกสารไปให้ท่านที่ต่างประเทศได้”
บริการทนายความโนตารี พับลิค (NOTARY PUBLIC)
ทนายความโนตารี พับลิค รับรองเอกสาร รับรองลายมือชื่อ รับรองบุคคล รับรองคำแปล รับรองเอกสารเพื่อนำไปใช้ในต่างประเทศFind a Notary Public in Thailand outside service any where any time as you requested please call us 083-2494999 Line ID: @NYC168 บริการด้านรับรองเอกสารของโนตารี พับลิค Notary Public
รับรองลายมือชื่อ notarized-legalized ต่อกรมกงสุลและนิติกรณ์ไทย
รับรองลายมือชื่อกรรมการบริษัทมหาชน
E-mail : nyc@outlook.co.th (สนใจสอบถามอัตราค่าบริการ ได้ที่ 083-2494999 Line ID : @NYC168)
โนตารี พับลิค (Notary Public) หรือ โนตาเรียล เซอร์วิส แอทโทนี่ (Notarial Services Attorney)ในประเทศไทย คืออะไร Notary Public หรือ Notarial services Attorney ในต่างประเทศหมายถึง บุคคลที่ได้รับแต่งตั้งจากทางราชการของประเทศนั้นๆ ตามหลักเกณฑ์ที่กฎหมายกำหนดไว้ มีหน้าที่ในการจัดทำสัญญา รับรองลายมือชื่อในเอกสาร ลงชื่อในฐานะเป็นพยานใน เอกสาร รับรองเอกสารนั้นๆ ว่าเป็นเอกสารที่ถูกต้องแท้จริงจากต้นฉบับ ให้ทำคำสาบาน หรือทำหน้าที่อื่นๆ ตามที่กฎหมายให้อำนาจไว้และตามหลักปฏิบัติของประเทศนั้นๆ ส่วนมากเอกสารเหล่านั้นจะนำไปใช้ในต่างปรเทศ หรือสถานฑูตประจำประเทศไทย
ในประเทศไทยทนายความที่ได้รับใบอนุญาตจากสภาทนายความ และได้รับอนุญาตให้ทำรับรองลายมือชื่อ และเอกสารจากสภาทนายความ เป็นผู้ทำหน้าที่ Notary Public หรือ Notarial services Attorney โดยสภาทนายความ (The Lawyers council Of Thailand)ได้ออกข้อบังคับสภาทนายความ ว่าด้วยการขึ้นทะเบียนทนายความผู้ทำคำรับรองลายมือชื่อ และเอกสาร พ.ศ. 2551 และระเบียบว่าด้วยการขึ้นทะเบียนทนายความ ผู้ทำคำรับรองลายมือชื่อและเอกสาร พ.ศ. 2552 พร้อมกับเปิดอบรมหลักสูตรทนายความ ผู้ทำคำรับรองลายมือชื่อและเอกสาร ให้แก่ทนายความเพื่อเป็นผู้ทำคำรับรองลายมือชื่อ และเอกสาร
หน้าที่ของ Notary Public หรือ Notarial services Attorney ดังนี้
การปฎิบัติหน้าที่ของทนายความผู้ทำคำรับรองลายมือชื่อและเอกสารตามแนวทางสภาทนายความ มีดังนี้ ทนายความผู้ทำคำรับรองต้องไม่เลือกปฎิบัติ ปฎิบัติหน้าที่ได้เพียงในฐานะพยานรู้เห็นข้อเท็จจริงเท่านั้น การรับรองลายมือชื่อต้องให้ผู้ลงลายมือ ชื่อมาแสดงตัวต่อหน้า และต้องตรวจสอบเอกสารเพื่อยืนยันตัวบุคคล ทนายความผู้ทำคำรับรองต้องให้ความสำคัญแก่ข้อเท็จจริงและเอกสาร ที่ตรวจสอบยิ่งกว่าวิญญูชนทั่วไป และต้องไม่เปิดเผยข้อมูล หรือความลับที่ตนได้รับมาเนื่องจากการปฎิบัติหน้าที่ในฐานะผู้ทำคำรับรอง ดังนั้น การรับรองลายมือชื่อ หรือรับรองเอกสาร หรือจัดทำเอกสารคำรับรองเพื่อนำเอกสารหรือสำเนาเอกสารเหล่านั้นไปใช้ จึงต้องทราบวัตถุประสงค์ ประโยชน์ และหน้าที่ของNotary Public หรือ Notarial Services Attorney จึงจะได้ประโยชน์ ตามความต้องการของผู้รับการรับรอง เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมาย ของแต่ละประเทศ from Wikipedia, the free encyclopedia A notary public (or notary or public notary) is a public officer constituted by law to serve the public in non-contentious matters usually concerned with estates, deeds, powers-of-attorney, and foreign and international business. A notary's main functions are to administeroaths and affirmations, take affidavits and statutory declarations,witness and authenticate the execution of certain classes of documents, take acknowledgments of deeds and other conveyances, protest notes and bills of exchange, provide notice of foreign drafts, prepare marine protests in cases of damage, provide exemplifications and notarial copies, and perform certain other official acts depending on thejurisdiction.[1] Any such act is known as a notarization. The term notary public only refers to common-law notaries and should not be confused with civil-law notaries. With the exceptions of Louisiana, Puerto Rico, Quebec, whose private law is based on civil law, and British Columbia, whose notarial tradition stems from scrivener notary practice, a notary public in the rest of the United States and most of Canada has powers that are far more limited than those of civil-law or other common-law notaries, both of whom are qualified lawyers admitted to the bar: such notaries may be referred to as notaries-at-law or lawyer notaries. Therefore, at common law, notarial service is distinct from the practice of law, and giving legal advice and preparing legal instruments is forbidden to law notaries.
- รับรองเอกสารเพื่อบังคับใช้ในอีกประเทศหนึ่ง เพื่อใช้ในต่างประเทศ
- รับรองเอกสาร รับรองใบสมัคร เพื่อเรียนต่อต่างประเทศ Affidavit of support /Sponser Notarization
- รับรองสำเนาเอกสาร Certified true copy
- รับรองสถานะการเงิน Statement Notarization
- รับรองคำแปล แปลเอกสาร Certified true translation
- รับรองลายมือชื่อ รับรองบุคคล กรรมการนิติบุคคล บริษัทจำกัด บริษัทมหาชนSignature Notarization and Legalization
- รับรองข้อเท็จจริง Marine protest Notary Public
- รับรองความมีอยู่จริงของเอกสาร
- รับรองการทำสัญญาระหว่างเอกชน Contract Agreement Notary Public
- รับรองคำสาบาน Applicant Declaration
- รับรองคำให้การ Declaration Notary Public
- รับรองหนังสืออนุญาตจากผู้ปกครอง Letter of Authorization for Travel / Custodianship declaration-Parents / Guardians Notary Public
- รับรองลายมือชื่อกรรมการ บริษัทจำกัด บริษัทมหาชนจำกัด เพื่อยื่นต่อกรมพัฒนา ธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์
- อื่นๆ ตามที่กฎหมายกำหนดอัตราค่าบริการ Notary Public 's Fee
- รับรองเอกสารโนตารี พับลิค
- รับรองลายมือชื่อ
รับรองลายมือชื่อ notarized-legalized ต่อกรมกงสุลและนิติกรณ์ไทย
รับรองลายมือชื่อกรรมการบริษัทมหาชน
E-mail : nyc@outlook.co.th (สนใจสอบถามอัตราค่าบริการ ได้ที่ 083-2494999 Line ID : @NYC168)
โนตารี พับลิค (Notary Public) หรือ โนตาเรียล เซอร์วิส แอทโทนี่ (Notarial Services Attorney)ในประเทศไทย คืออะไร Notary Public หรือ Notarial services Attorney ในต่างประเทศหมายถึง บุคคลที่ได้รับแต่งตั้งจากทางราชการของประเทศนั้นๆ ตามหลักเกณฑ์ที่กฎหมายกำหนดไว้ มีหน้าที่ในการจัดทำสัญญา รับรองลายมือชื่อในเอกสาร ลงชื่อในฐานะเป็นพยานใน เอกสาร รับรองเอกสารนั้นๆ ว่าเป็นเอกสารที่ถูกต้องแท้จริงจากต้นฉบับ ให้ทำคำสาบาน หรือทำหน้าที่อื่นๆ ตามที่กฎหมายให้อำนาจไว้และตามหลักปฏิบัติของประเทศนั้นๆ ส่วนมากเอกสารเหล่านั้นจะนำไปใช้ในต่างปรเทศ หรือสถานฑูตประจำประเทศไทย
ในประเทศไทยทนายความที่ได้รับใบอนุญาตจากสภาทนายความ และได้รับอนุญาตให้ทำรับรองลายมือชื่อ และเอกสารจากสภาทนายความ เป็นผู้ทำหน้าที่ Notary Public หรือ Notarial services Attorney โดยสภาทนายความ (The Lawyers council Of Thailand)ได้ออกข้อบังคับสภาทนายความ ว่าด้วยการขึ้นทะเบียนทนายความผู้ทำคำรับรองลายมือชื่อ และเอกสาร พ.ศ. 2551 และระเบียบว่าด้วยการขึ้นทะเบียนทนายความ ผู้ทำคำรับรองลายมือชื่อและเอกสาร พ.ศ. 2552 พร้อมกับเปิดอบรมหลักสูตรทนายความ ผู้ทำคำรับรองลายมือชื่อและเอกสาร ให้แก่ทนายความเพื่อเป็นผู้ทำคำรับรองลายมือชื่อ และเอกสาร
หน้าที่ของ Notary Public หรือ Notarial services Attorney ดังนี้
- รับรองลายมือชื่อในเอกสาร
- รับรองนิติกรรมที่เอกชนทำขึ้น
- รับรองคำแปลเอกสาร
- รับรองข้อเท็จจริง
- รับรองสำเนาเอกสาร
- รับรองความมีอยู่ของเอกสาร
- จัดทำคำสาบาน
- จัดทำบันทึกคำให้การ
- ทำคำคัดค้านตราสาร
- รับรองตัวบุคคล
- ทำหน้าที่อื่นที่กฎหมายกำหนด
การปฎิบัติหน้าที่ของทนายความผู้ทำคำรับรองลายมือชื่อและเอกสารตามแนวทางสภาทนายความ มีดังนี้ ทนายความผู้ทำคำรับรองต้องไม่เลือกปฎิบัติ ปฎิบัติหน้าที่ได้เพียงในฐานะพยานรู้เห็นข้อเท็จจริงเท่านั้น การรับรองลายมือชื่อต้องให้ผู้ลงลายมือ ชื่อมาแสดงตัวต่อหน้า และต้องตรวจสอบเอกสารเพื่อยืนยันตัวบุคคล ทนายความผู้ทำคำรับรองต้องให้ความสำคัญแก่ข้อเท็จจริงและเอกสาร ที่ตรวจสอบยิ่งกว่าวิญญูชนทั่วไป และต้องไม่เปิดเผยข้อมูล หรือความลับที่ตนได้รับมาเนื่องจากการปฎิบัติหน้าที่ในฐานะผู้ทำคำรับรอง ดังนั้น การรับรองลายมือชื่อ หรือรับรองเอกสาร หรือจัดทำเอกสารคำรับรองเพื่อนำเอกสารหรือสำเนาเอกสารเหล่านั้นไปใช้ จึงต้องทราบวัตถุประสงค์ ประโยชน์ และหน้าที่ของNotary Public หรือ Notarial Services Attorney จึงจะได้ประโยชน์ ตามความต้องการของผู้รับการรับรอง เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมาย ของแต่ละประเทศ from Wikipedia, the free encyclopedia A notary public (or notary or public notary) is a public officer constituted by law to serve the public in non-contentious matters usually concerned with estates, deeds, powers-of-attorney, and foreign and international business. A notary's main functions are to administeroaths and affirmations, take affidavits and statutory declarations,witness and authenticate the execution of certain classes of documents, take acknowledgments of deeds and other conveyances, protest notes and bills of exchange, provide notice of foreign drafts, prepare marine protests in cases of damage, provide exemplifications and notarial copies, and perform certain other official acts depending on thejurisdiction.[1] Any such act is known as a notarization. The term notary public only refers to common-law notaries and should not be confused with civil-law notaries. With the exceptions of Louisiana, Puerto Rico, Quebec, whose private law is based on civil law, and British Columbia, whose notarial tradition stems from scrivener notary practice, a notary public in the rest of the United States and most of Canada has powers that are far more limited than those of civil-law or other common-law notaries, both of whom are qualified lawyers admitted to the bar: such notaries may be referred to as notaries-at-law or lawyer notaries. Therefore, at common law, notarial service is distinct from the practice of law, and giving legal advice and preparing legal instruments is forbidden to law notaries.
ทนายความผู้ทำคำรับรองลายมือชื่อและเอกสาร มีหน้าที่ดังนี้
การปฏิบัติหน้าที่ของทนายความผู้ทำคำรับรองลายมือชื่อและเอกสาร
- รับรองนิติกรรมที่เอกชนทำขึ้น
- รับรองคำแปลเอกสาร
- รับรองข้อเท็จจริง
- รับรองสำเนาเอกสาร
- รับรองความมีอยู่ของเอกสาร
- จัดทำคำสาบาน
- จัดทำบันทึกคำให้การ
- ทำคำคัดค้านตราสาร
- รับรองตัวบุคคล,รับรองลายมือชื่อในเอกสาร
- ทำหน้าที่อื่นตามที่กฎหมายกำหนด
การปฏิบัติหน้าที่ของทนายความผู้ทำคำรับรองลายมือชื่อและเอกสาร
- ทนายความผู้ทำคำรับรอง จะถือว่างานในหน้าที่นี้เป็นการบริการต่อสาธารณชน จึงต้องให้บริการโดยบริสุทธิ์ ยุติธรรม และไม่เลือกปฏิบัติ
- ในการปฏิบัติหน้าที่ทนายความผู้ทำคำรับรอง จะทำหน้าที่ในฐานะพยานรู้เห็นโดยสุจริตและเที่ยงธรรม และไม่เห็นแก่เงินสินจ้างหรือค่าตอบแทนเว้นแต่ค่าธรรมเนียมตามสมควรหรือตาม ที่กฎหมายหรือข้อบังคับหรือระเบียบของสภาทนายกำหนดไว้
- ในการรับรองลายมือชื่อของบุคคลหรือคำสาบานของบุคคล ทนายความผู้ทำคำรับรอง จะต้องให้ผู้ลงลายมือชื่อหรือให้คำสาบานมาปรากฏตัวด้วยตนเองและจะต้องตรวจ สอบบัตรประจำตัวประชาชนของบุคคลนั้นๆ รวมทั้งความสมัครใจและต้องให้แน่ใจว่าบุคคลที่จะลงลายมือชื่อหรือให้คำสาบาน ตนนั้นทราบถึงความสำคัญของการลงลายมือหรือคำสาบานนั้นด้วย
- ทนายความผู้ทำคำรับรอง จะต้องไม่ออกคำรับรองเท็จ หรือคำรับรองที่ไม่ครบถ้วนบริบูรณ์ ทั้งจะต้องไม่เกี่ยวข้องกับเอกสารหรือธุรกรรมใดๆ ที่เป็นเท็จมีลักษณะหลอกลวงหรือฉ้อฉล
- ทนายความผู้ทำคำรับรอง จะต้องให้ความสำคัญแก่ความถูกต้องของข้อเท็จจริงที่ตรวจสอบได้โดยเอกสารและ การกระทำที่ชอบด้วยกฎหมายยิ่งกว่าความต้องการหรือความคาดหวังของบุคคลที่มา ขอให้ทำคำรับรอง
- ทนายความผู้ทำคำรับรอง พึงกระทำการเฉพาะในสิ่งที่เป็นอำนาจหน้าที่โดยเฉพาะเจาะจงของตนเท่านั้น ไม่พึงก้าวล่วงไปให้คำแนะนำหรือทำคำรับรองนอกเหนือจากอำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย หรือตามประเพณีปฏิบัติเกี่ยวกับงานในอำนาจหน้าที่ทนายความผู้ทำคำรับรอง
- ในกรณีที่ต้องใช้ตราประทับ ทนายความผู้ทำคำรับรองจะต้องระมัดระวังเก็บรักษาดวงตราไว้เพื่อการรับรองโดย เคร่งครัด และต้องไม่อนุญาตให้บุคคลอื่นใดนำดวงตราดังกล่าวไปใช้เพื่อการใดๆ โดยเด็ดขาด
- ในการปฏิบัติหน้าที่ทนายความผู้ทำคำรับรอง จะต้องทำการบันทึกและเก็บสำเนาเอกสารการปฏิบัติหน้าที่ในฐานะทนายความผู้ทำ คำรับรอง ในสมุดบันทึกงานทุกรายการ และต้องเก็บรักษาสมุดบันทึกดังกล่าวไว้ที่สำนักงานของตน หรือในที่ปลอดภัยอื่นๆ
- ทนายความผู้ทำคำรับรอง พึงต้องเคารพสิทธิส่วนบุคคลของผู้ที่มาใช้บริการ และจะต้องไม่เปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลหรือความลับที่ตนได้รับมาเนื่องจาก หน้าที่ทนายความผู้ทำคำรับรองเพื่อการใดๆ เว้นแต่ที่เกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ในฐานะทนายความผู้ทำคำรับรองหรือมี กฎหมายหรือคำสั่งศาลให้เปิดเผยได้
- ทนายความผู้ทำคำรับรอง จะปฏิบัติหน้าที่เมื่อได้รับการร้องขอเท่านั้น และต้องปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมายหรือประเพณีที่มีอยู่ในขณะนั้น
บริการตรวจสอบประวัติอาชญากรรม (CID)
ตรวจประวัติพนักงาน ตรวจประวัติคดีอาญา
จากสภาพเศรษฐกิจในปัจจุบัน ส่งผลให้เกิดอาชญากรรมหลายรูปแบบ โดยจากสถิติประวัติอาชญากรรมที่ตรวจพบในปี 2006 - 2011 จากผู้สมัครงาน 84,000.- คน พบบุคคลที่มีประวัติความผิดประมาณ 8 % โดยแบ่งความผิดประเภทต่างๆ ดังนี้
ปัจจุบันองค์กรหรือผู้ประกอบการหลายแห่งโดยเฉพาะบริษัทที่ ดำเนินธุรกิจเกี่ยวกับภาคอุตสาหกรรมการผลิต บริษัทจัดส่งสินค้า Logistic ห้างสรรพสินค้า บริษัทประกันภัย ธนาคาร บริษัทหลักทรัพย์/เงินทุน โรงแรม สำนักงานทนาย บริษัทบริการซีคิวริตี้ ได้กำหนดให้มีมาตรการการตรวจสอบประวัติอาชญากรรมพนักงานก่อนรับเข้าทำงานหรือผ่าน ทดลองงาน ทั้งนี้เพื่อลดความเสี่ยงภัย ที่อาจจะก่อให้เกิดความเสียหาย นับว่าเป็นการสร้างความรู้สึกปลอดภัยภายในองค์กรและต่อลูกค้า การตรวจสอบประวัติอาชญกรรม มี 2 วิธี คือ
บริการตรวจสอบประวัติอาชญากรรม
NYC Visa&Translation Service (บริษัทเอ็นวายซี วีซ่า แอนด์ ทรานสเลชั่น) เราคือตัวแทน (Mandate/Agency) ในการดำเนินการขอหนังสือรับรองความประพฤติ(Police clearance certificate) สำหรับประชาชนทั่วไปที่ประสงค์จะขอหนังสือรับรองความประพฤติ(a good conduct) หรือหนังสือรับรองประวัติอาชญากรรม (The criminal Records Check) จากสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ในกรณีพิเศษ เร่งด่วน(กรณีผู้ประสงค์ไปต่างประเทศเท่านั้น) พร้อมมีบริการจัดส่งกลับไปให้ท่านโดย FedEx /DHL/ (กรณีจัดส่งในประเทศโดย EMS) ในบริการที่รวดเร็ว สะดวก และปลอดภัย
ทำไมต้องใช้บริการของเรา ?
Why use our services?
รับตรวจสอบประวัติอาชญากร ประวัติทางคดีอาญา คดีแพ่ง ใบอนุญาตขับรถ ใบอนุญาตรถขนส่ง ใบสั่ง ทะเบียนรถยนต์ ทะเบียนรถขนส่ง บุคคลพ้นโทษ รถหาย ทรัพย์หาย อุบัติเหตุจราจร เหมาะกับ คู่สมรสที่จะจดทะเบียน การร่วมลงทุนประกอบธุรกิจ บุคคลที่จะเดินทางไปต่างประเทศจะต้องผ่าน ตม. การยื่นขอวีซ่า การขอหนังสือเดินทาง หรือการรับพนักงาน ลูกจ้าง เพื่อความมั่นใจและปลอดภัยในการประกอบกิจการ หรือนิติบุคคล หรือฝ่ายทรัพยากรบุคคลที่จะตรวจสอบประวัติทางคดีของพนักงาน เพื่อประกอบการตัดสินใจในการรับบุคคลเข้าทำงาน
กรณีผู้ร้องขอทำเอง (อยู่ในประเทศไทย)
กรณีผู้ร้องขอพำนักอยู่ในต่างประเทศ
ท่านสามารถส่งเอกสารทางไปรษณีย์มายังศูนย์บริการออกหนังสือรับรองความประพฤติ โดยต้องจัดเตรียมเอกสารสำหรับกรณีต่าง ๆ ดังนี้
1.1 สำหรับบุคคลสัญชาติไทย
1.)สำเนาหนังสือเดินทาง
2.) สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน
3.) สำเนาทะเบียนบ้าน
4.) สำเนาทะเบียนบ้าน
5.) สำเนาหลักฐานทางทหาร (สด.8 หรือ สด.43 หรือหนังสือรับรองการเรียน รด. หลักสูตร 3 ปี หรือ 5 ปี สำหรับชายไทยอายุ 20 ปี ขึ้นไป และ สด.9 สำหรับชายไทย อายุ 17-19 ปี)
6.) สำเบาใบสำคัญการสมรส หรือใบสำคัญการหย่า (ถ้ามี)
7.) รูปถ่ายขนาด 1 นิ้ว หรือ 2 นิ้ว จำนวน 2 รูป
สถานที่ตั้งศูนย์บริการออกหนังสือรับรองความประพฤติ และการติดต่อ
ศูนย์บริการออกหนังสือรับรองความประพฤติ
ตั้งอยู่ที่ อาคาร 24 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ถนนพระราม 1
เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330
การรับหนังสือรับรองความประพฤติ
สามารถทำได้ 3 วิธี คือ
• มารับด้วยตนเอง
• มอบอำนาจให้ผู้อื่นมารับแทน
• ให้ศูนย์บริการฯจัดส่งหนังสือรับรองความประพฤติให้ทางไปรษณีย์ ทั้งนี้ท่านต้องจัดเตรียมซองไปรษณีย์ จ่าหน้าซองที่อยู่ถึงตัวเองพร้อมติดแสตมป์เพื่อศูนย์บริการฯจะได้จัดส่งหนังสือรับรองความประพฤติกลับไปให้
งความประพฤติต้องลงชื่อรับรองสำเนาถูกต้องในเอกสารต่างๆ ข้างต้นด้วย
ศูนย์บริการออกหนังสือรับรองความประพฤติ
สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
http://pcscenter.sb.police.go.th/service.php
- ความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด 42.68%
- ความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ (ปล้น/จี้) 15.26%
- ความผิดเกี่ยวกับการพนัน 12.10%
- ความผิดเกี่ยวกับการทำร้ายร่างกาย 6.54%
- ความผิดเกี่ยวกับ พ.ร.บ.จราจรในเรื่องเมาแล้วขับ 4.01%
- ความผิดเกี่ยวกับเพศ 2.68%
- ความผิดต่อชีวิต (ฆาตกรรม) 1.61%
- ความผิดเกี่ยวกับเสรีภาพ (ลักพาตัว เรียกค่าไถ่) 0.14%
- การกระทำความผิดอื่นๆ 14.91%
ปัจจุบันองค์กรหรือผู้ประกอบการหลายแห่งโดยเฉพาะบริษัทที่ ดำเนินธุรกิจเกี่ยวกับภาคอุตสาหกรรมการผลิต บริษัทจัดส่งสินค้า Logistic ห้างสรรพสินค้า บริษัทประกันภัย ธนาคาร บริษัทหลักทรัพย์/เงินทุน โรงแรม สำนักงานทนาย บริษัทบริการซีคิวริตี้ ได้กำหนดให้มีมาตรการการตรวจสอบประวัติอาชญากรรมพนักงานก่อนรับเข้าทำงานหรือผ่าน ทดลองงาน ทั้งนี้เพื่อลดความเสี่ยงภัย ที่อาจจะก่อให้เกิดความเสียหาย นับว่าเป็นการสร้างความรู้สึกปลอดภัยภายในองค์กรและต่อลูกค้า การตรวจสอบประวัติอาชญกรรม มี 2 วิธี คือ
- การตรวจสอบด้วยลายพิมพ์นิ้วมือ
- การตรวจสอบด้วยชื่อและชื่อสกุล
บริการตรวจสอบประวัติอาชญากรรม
- เป็นหน่วยงานอิสระขององค์กรที่ดำเนินงานการตรวจสอบฯ โดยเฉพาะ
- ดำเนินการตรวจสอบประวัติผู้สมัครงานหรือพนักงานทุกระดับด้วยมาตรฐานเดียวกัน
- ดำเนินการตรวจสอบประวัติฯ ได้ 100% ของผู้สมัครงานทั้งหมดหรือบางตำแหน่งงานตามนโยบายขององค์กร
- ปฏิบัติงานเป็นระบบด้วย โปรแกรมที่เขียนขึ้นมารองรับงานตรวจสอบฯ
- องค์กรจะได้รับทราบสถิติและรายงานการวิเคราะห์ต่าง ๆ เพื่อกำหนดนโยบายขององค์กรต่อไป
- การสำรองจ่ายค่าบริจาคแก่กองทะเบียนตรวจสอบประวัติอาชญากร
- องค์กรสามารถตรวจสอบและประเมินผลงานบริการของบริษัทฯ ได้
NYC Visa&Translation Service (บริษัทเอ็นวายซี วีซ่า แอนด์ ทรานสเลชั่น) เราคือตัวแทน (Mandate/Agency) ในการดำเนินการขอหนังสือรับรองความประพฤติ(Police clearance certificate) สำหรับประชาชนทั่วไปที่ประสงค์จะขอหนังสือรับรองความประพฤติ(a good conduct) หรือหนังสือรับรองประวัติอาชญากรรม (The criminal Records Check) จากสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ในกรณีพิเศษ เร่งด่วน(กรณีผู้ประสงค์ไปต่างประเทศเท่านั้น) พร้อมมีบริการจัดส่งกลับไปให้ท่านโดย FedEx /DHL/ (กรณีจัดส่งในประเทศโดย EMS) ในบริการที่รวดเร็ว สะดวก และปลอดภัย
ทำไมต้องใช้บริการของเรา ?
- ส่งกับเราเอกสารไม่หายแน่นอน เพราะติดต่อง่าย ตรวจสอบได้
- จัดเตรียมเอกสารไม่ยุ่งยาก สะดวก รวดเร็ว ลดขั้นตอน ปรึกษาได้ ไร้กังวล
- ประหยัดค่าธรรมเนียมโอนเงินจากต่างประเทศ เพราะให้ญาติในไทยโอนแทนได้
- ประหยัดค่าจัดส่งเอกสารจากต่างประเทศ เพราะแค่ส่งเอกสารมาทางอีเมล์(กรณีคนไทย)
- รวมค่าธรรมเนียมทุกอย่างแล้ว ยกเว้นค่าจัดส่งกลับโดย FedEx/DHL
- สะดวกรวดเร็วกว่าแน่นอน พรัอมจัดส่งกลับไปยัง ประเทศที่ท่านพำนักอยู่ ประมาณ3-5 วันทำการ(กรณีผู้ไม่มีประวัติอาชญากรรม) หากท่านมีประวัติคดีความมาก่อน จะต้องแจ้งให้เราทราบก่อน เริ่มงาน*
- เพียงแค่สแกนเอกสารมาที่เรา เราจะเป็นตัวแทนให้บริการและนำเอกสารของท่าน ยื่นขอใบรับรองประวัติอาชญากรรมให้ท่าน พร้อมไปรับและจัดส่งเอกสารกลับไปให้กับท่านโดย FedEx หรือ DHL พร้อมแจ้ง Tracking number เพื่อตรวจสอบสถานะของเอกสารของท่าน
- เฉพาะบุคคลสัญชาติไทยสามารถส่งเอกสารมาให้เราทางอีเมล์ได้ ส่วนบุคคลสัญชาติอื่นต้องจัดส่งเอกสารมาให้เราตามที่อยู่ของเรา ทางไปรษณีย์, FedEx หรือ DHL พร้อมต้นฉบับพิมพ์ลายนิ้วมือ จำนวน 2 ชุด)
Why use our services?
- You will not lose your documents.
- Money transfer international security, save cost can give your friend or your family in Thailand transfer for you
- the post of international security we use FedEx or DHL only
- all charges except shipping costs FedEx or DHL
- Simply scan documents send to us .We will verify and document your representative. To submit a request to resume and delivered back to you by FedEx/DHL with their Tracking number to check the status of your document. (Only Citizen of Thai can send your documents to us by email but Individual citizens must be send by mailed, FedEx or DHL together with the original fingerprint 2 sets).
รับตรวจสอบประวัติอาชญากร ประวัติทางคดีอาญา คดีแพ่ง ใบอนุญาตขับรถ ใบอนุญาตรถขนส่ง ใบสั่ง ทะเบียนรถยนต์ ทะเบียนรถขนส่ง บุคคลพ้นโทษ รถหาย ทรัพย์หาย อุบัติเหตุจราจร เหมาะกับ คู่สมรสที่จะจดทะเบียน การร่วมลงทุนประกอบธุรกิจ บุคคลที่จะเดินทางไปต่างประเทศจะต้องผ่าน ตม. การยื่นขอวีซ่า การขอหนังสือเดินทาง หรือการรับพนักงาน ลูกจ้าง เพื่อความมั่นใจและปลอดภัยในการประกอบกิจการ หรือนิติบุคคล หรือฝ่ายทรัพยากรบุคคลที่จะตรวจสอบประวัติทางคดีของพนักงาน เพื่อประกอบการตัดสินใจในการรับบุคคลเข้าทำงาน
กรณีผู้ร้องขอทำเอง (อยู่ในประเทศไทย)
- ประชาชน หรือบุคคลทั่วไป(เจ้าของเรื่อง) สามารถขอถือแผ่นพิมพ์ลายนิ้วมือ หรือเอกสารของตนเองจากสถานีตำรวจ หรือ ฝ่ายอำนวยการ 2 กองบังคับการอำนวยการตำรวจสันติบาล (กรณีเกี่ยวกับการเดินทางไปต่างประเทศ)เพื่อนำไปยื่นเรื่องขอตรวจสอบประวัติที่ ฝ่ายทะเบียนประวัติอาชญากร 3 กองทะเบียนประวัติอาชญากร (อาคาร 25 ชั้น 11) สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
- การแจ้งผลตรวจสอบประวัติแผ่นพิมพ์ลายนิ้วมือ กรณีตรวจสอบไม่พบประวัติว่าได้เคยทำความผิดคดีอาญามาก่อนใช้ระยะเวลาไม่เกิน 10 วันทำการ กรณีตรวจสอบพบประวัติว่าได้เคยทำความผิดคดีอาญามาก่อนใช้ระยะเวลาไม่เกิน15 วันทำการ นับแต่วันที่กองทะเบียนประวัติอาชญากรได้รับเอกสารถูกต้องครบถ้วน
- หากมีความจำเป็นต้องการขอรับผลการตรวจสอบประวัติเป็นการเร่งด่วน ขอให้ยื่นคำร้องด้วยตนเองที่ฝ่ายทะเบียนประวัติอาชญากร 3 กองทะเบียนประวัติอาชญากร (อาคาร 25 ชั้น 11)
กรณีผู้ร้องขอพำนักอยู่ในต่างประเทศ
ท่านสามารถส่งเอกสารทางไปรษณีย์มายังศูนย์บริการออกหนังสือรับรองความประพฤติ โดยต้องจัดเตรียมเอกสารสำหรับกรณีต่าง ๆ ดังนี้
1.1 สำหรับบุคคลสัญชาติไทย
1.)สำเนาหนังสือเดินทาง
2.) สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน
3.) สำเนาทะเบียนบ้าน
4.) สำเนาทะเบียนบ้าน
5.) สำเนาหลักฐานทางทหาร (สด.8 หรือ สด.43 หรือหนังสือรับรองการเรียน รด. หลักสูตร 3 ปี หรือ 5 ปี สำหรับชายไทยอายุ 20 ปี ขึ้นไป และ สด.9 สำหรับชายไทย อายุ 17-19 ปี)
6.) สำเบาใบสำคัญการสมรส หรือใบสำคัญการหย่า (ถ้ามี)
7.) รูปถ่ายขนาด 1 นิ้ว หรือ 2 นิ้ว จำนวน 2 รูป
สถานที่ตั้งศูนย์บริการออกหนังสือรับรองความประพฤติ และการติดต่อ
ศูนย์บริการออกหนังสือรับรองความประพฤติ
ตั้งอยู่ที่ อาคาร 24 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ถนนพระราม 1
เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330
การรับหนังสือรับรองความประพฤติ
สามารถทำได้ 3 วิธี คือ
• มารับด้วยตนเอง
• มอบอำนาจให้ผู้อื่นมารับแทน
• ให้ศูนย์บริการฯจัดส่งหนังสือรับรองความประพฤติให้ทางไปรษณีย์ ทั้งนี้ท่านต้องจัดเตรียมซองไปรษณีย์ จ่าหน้าซองที่อยู่ถึงตัวเองพร้อมติดแสตมป์เพื่อศูนย์บริการฯจะได้จัดส่งหนังสือรับรองความประพฤติกลับไปให้
งความประพฤติต้องลงชื่อรับรองสำเนาถูกต้องในเอกสารต่างๆ ข้างต้นด้วย
ศูนย์บริการออกหนังสือรับรองความประพฤติ
สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
http://pcscenter.sb.police.go.th/service.php
ทำไมถึงต้องใช้บริการเรา
iTS (i Translation Services) เป็นบริษัท และสถาบันแปลภาษาแบบครบวงจรที่ดีที่สุดของคุณ เราให้บริการแปลเอกสารโดยเจ้าของภาษา ที่มีความรู้ความสามารถในการแปลเฉพาะทาง ไม่ว่าจะเป็นการแปลงานกฏหมาย แปลงานทางการแพทย์ แปลงานทางดานวิศวกรรม แปลงานทางด้านการเงิน แปลงานทางด้านการศึกษา แปลงานทางด้านสัญญาเกี่ยวกับธุรกิจ และนอกจากนั้น เรายังสามารถแปลงานได้ทุกประเภท ทุกชนิด และทุกภาษา ซึ่งลูกค้าสามารถมั่นใจได้ว่าจะได้งานแปลที่ถูกต้องตามหลักภาษา กระชับ เข้าใจง่าย และสามารถนำไปใช้งานได้จริง
พวกเราคือใคร
iTS (i Translation Services) เป็นบริษัท และสถาบันแปลภาษาที่เปิดให้บริการลูกค้ามาตั้งแต่ปี 2009 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนบริษัท องค์กร หน่วยงาน หรือแม้แต่บุคคลธรรมดาทั่วไป ที่ต้องการแปลภาษา เพื่อการติดต่อทางธุรกิจ ขายงาน หรือขยายฐานลูกค้าไปทั่วทุกมุมของโลก ไม่ว่าจะเป็นภาษาอะไร หรืองานประเภทไหน เราก็สามารถให้บริการได้ เรามีทีมงานแปลอยู่ทั่วทุกมุมโลกและทุกภาษา เปิดบริการมาอย่างยาวนาน มีทีมให้คำแนะนำและปรึกษาเกี่ยวกับการแปลและรับรองเอกสาร มีหน้าร้านมากวว่า 22 สาขาในประเทศไทย คิดถึงเรื่องการแปลภาษา โปรดคิดถึงเรา
เงื่อนไขการใช้บริการ
- ในกรณีที่ลูกค้าตกลงใช้บริการและชำระเงินแล้วไม่สามารถคืนเงินได้ทุกกรณี
- รับผิดชอบความเสียหายตามมูลค่างานแปลเท่านั้น
- ทางบริษัทฯ จะดำเนินการแปลเอกสารตามต้นฉบับเท่านั้น หากกรณีมีการเปลี่ยนแปลงต้นฉบับภายหลังจากที่อนุมัติงานแปลแล้ว ทางบริษัทฯ ขอสงวนสิทธิ์คิดเป็นค่าบริการแปลใหม่ทั้งหมด
- ในกรณีที่งานแปลมีความผิดพลาดที่เกิดจากทีมผู้แปล เช่นการสะกดคำผิด หรือลูกค้าต้องการให้ปรับเปลี่ยนการใช้ภาษา สามารถทำได้ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ส่งมอบงานแปลแล้วแต่ทั้งนี้การแก้ไขดังกล่าวจะต้องไม่บิดเบือนไปจากต้นฉบับ
- การรับรองเอกสาร ไม่ว่าจะเป็นรับรองจากสถาบันแปล รับรองจากกงสุล รับรอง NAATI หรือรับรองทนาย Notary Public ลูกค้ารับทราบและเป็นผู้เลือกใช้บริการด้วยตัวเอง หากมีการรับรองผิดประเภท หรือรับรองไม่ครบขั้นตอน ลูกค้าจะต้องเป็นผู้ชำระค่าบริการใหม่ทั้งหมด
- ในกรณีที่ลูกค้าต้องการแก้ไขงานแปลหลังจากเกิน 30 วันแล้ว ทางบริษัทฯ ขอสงวนสิทธิ์คิดเป็นค่าบริการแปลใหม่ทั้งหมด
- ในกรณีที่ยอดเงินไม่ถึง 100,000 บาท ต้องชำระค่าบริการเต็มจำนวนหากเกิน 100,000 บาทสามารถมัดจำ 50 %ได้